บันทึกอนุทินครั้งที่5
EAED3207 Scince Experinces Management for Eariy Childhood
วิชา การจัดประสบการณ์ทางวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ผู้สอน
อาจารย์ จินตนา สุขสำราญ
วันที่ 16 เดือน กันยายน พ.ศ. 2557
เวลาเรียน 08.30 : 12.20 (วันอังคาร เช้า ) กลุ่มเรียน 103
คณะศึกษาศาสตร์ โปรแกรมวิชาการศึกษาปฐมวัย
ชื่อ : นางสาวศิรดา สักบุตร (Sirada Sakbud) รหัสประจำตัว 5511200684
บทความ (Article)
- วิทยาศาสตร์กับเด็กปฐมวัย
วิทยาศาสตร์ มีบทบสทอย่างยิางต่อการดำรงชีวิตของมนุษย์ การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ทางวิทยาศาสตร์ควรเน้นให้ผู้เรียนเป็นศูนย์กลางเปิดโอกาสให้เด็กมีส่วนร่วมในการทำกิจกรรมมีประสบการณืตรงให้เด็กได้ลงมือปฏิบัติจริงดดยครูเป็นผู้ตอบสนองความสนใจของเด็กและส่งเสริมการจัดกระบวนการความคิดประสบการณ์เพื่อพัฒนามุมมองและความเข้าใจทางวิทยาศาสตร์
- เป้าหมายสำคัญใการจัดประสบการณ์
1.แสดงความเรียนรู้ตระหนักเกี่ยวกับธรรมชาติ
2.ดำเนินการสืบเสาะหาความรู้ด้วยตนเอง
3.แสดงความเข้าใจและรู้จักดูแลรักษาธรรมชาติ
- การสอนลูกเรื่องปรากฏการธรรมชาติสำคัยอย่างไร (Natural Phenomena)
ปรากฏการทางธรรมชาติ หมายถึง สิ่งที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติมนุษย์ไม่ได้เป็นผู้สร้างขึ้นแต่มีผลกระทบต่อมนุษย์โดยตรง เช่น ฝนตก ฟ้าร้อง ฟ้าผ่า รุ้งกินน้ำ กลางวัน กลางคืน ภาวะโลกร้อน ปรากฏการณืทางธรรมชาติเป็นสาระสำคัญสำหรับเด็กปฐมวัย จัดอยู่ในสาระการเรียนรู้ทางวิทยาศาสตร์ที่มีความหมายอย่างเหมาะสมในการนำมาจัดให้เด็กได้เรียนรู้
- ทักษะการสังเกต
- ทักษะการจำแนกเปรียบเทียบ
- ทักษะการรับฟัง
- ทักษะการตั้งใจ
- ทักษะการสรุปข้อมูล
กล้องสลับลาย หรือ คาไลโดสโคป
กล้องสลับลาย หรือคาไลโดสโคป (อังกฤษ: kaleidoscope) คือกล้องรูปร่างทรงกระบอก ด้านในประกอบด้วยกระจกเงาหลายแผ่นหันหน้าเข้าหากัน ปลายด้านหนึ่งเจาะช่องไว้สำหรับมอง ปลายอีกด้านมีช่องแสงเข้าซึ่งบรรจุวัตถุต่างๆ เช่น ลูกปัด, กรวด, กระดาษ หรือเศษแก้วหลายสีเอาไว้
เมื่อนำกล้องส่องไปที่แหล่งกำเนิดแสง แสงจะผ่านวัตถุที่ใส่ไว้ และสะท้อนกระจกเงาด้านในกลับไปกลับมาหลายครั้ง เกิดเป็นลวดลายที่สวยงาม โดยลวดลายจะเปลี่ยนไปเรื่อยๆ เมื่อเขย่ากล้อง
รุ้งกินน้ำ
รุ้งกินน้ำ เป็นปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่เกิดขึ้นหลังจากฝนตก โดยเกิดขึ้นจากแสงแดดส่องผ่านละอองน้ำในอากาศ ทำให้แสงสีต่าง ๆ เกิดการหักเหขึ้น จึงเห็นเป็นแถบสีต่าง ๆ ปรากฏขึ้นบนท้องฟ้า รุ้งปฐมภูมิจะประกอบด้วยสีม่วง คราม น้ำเงิน เขียว เหลือง แสด และแดง โดยมีสีม่วงอยู่ชั้นในสุดและสีแดงอยู่ชั้นนอกสุด ส่วนรุ้งทุติยภูมิจะมีสีเช่นเดียวกันแต่เรียงลำดับในทิศทางตรงกันข้าม
แสงและเงา (Light and Shade)
รุ้งกินน้ำ เป็นปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่เกิดขึ้นหลังจากฝนตก โดยเกิดขึ้นจากแสงแดดส่องผ่านละอองน้ำในอากาศ ทำให้แสงสีต่าง ๆ เกิดการหักเหขึ้น จึงเห็นเป็นแถบสีต่าง ๆ ปรากฏขึ้นบนท้องฟ้า รุ้งปฐมภูมิจะประกอบด้วยสีม่วง คราม น้ำเงิน เขียว เหลือง แสด และแดง โดยมีสีม่วงอยู่ชั้นในสุดและสีแดงอยู่ชั้นนอกสุด ส่วนรุ้งทุติยภูมิจะมีสีเช่นเดียวกันแต่เรียงลำดับในทิศทางตรงกันข้าม
แสงและเงา (Light and Shade)
แสง
เป็นส่วนที่สำคัญที่สุดเพราะเป็นต้นกำเนิดที่ทำให้เกิดภาพที่ตาของเราสามารถ
มองเห็น แสงที่เราเห็นเป็นสีขาวประกอบด้วยคลื่นแสงของสีหลาย ๆ สีมารวมกัน
เมื่อแสงเดินทางไปกระทบวัตถุหนึ่ง ๆ
คลื่นแสงของสีบางสีถูกวัตถุดูดกลืนไปและสะท้อนคลื่นแสงสีอื่นเข้าสู่ตาเราทำ
ให้เรามองเห็นวัตถุเป็นสีนั้น
การที่ตาของเราเห็นความเข้มของแสงที่บริเวณต่าง ๆ
บนผิวของวัตถุไม่เท่ากันเนื่องมาจากระยะห่างระหว่างแหล่งกำเนิดแสงกับผิวของ
วัตถุที่บริเวณต่าง ๆ ยาวไม่เท่ากัน
และระนาบของผิวของวัตถุทำมุมกับแหล่งกำเนิดแสงไม่เท่ากัน
บริเวณที่สว่างที่สุดบนผิววัตถุเรียกว่า Highlight
ส่วนบริเวณของวัตถุที่ไม่ถูกแสงกระทบจะพบกับความมืด
ความมืดบนผิวของวัตถุจะมีมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับว่ามีแสงจากที่ใดที่หนึ่ง
มากระทบน้อยหรือมาก บริเวณที่มืดที่สุดบนผิววัตถุเรียกว่า High Shade
การที่แสงส่องมายังวัตถุ
จะถูกตัววัตถุบังไว้ทำให้เกิดเงาของวัตถุไปปรากฏบนพื้นที่ที่วางวัตถุนั้น
บริเวณของเงาจะแบ่งได้เป็น 3 ส่วน ส่วนที่มืดที่สุดเรียกว่า Umbra
ส่วนที่มืดปานกลางเรียกว่า Penumbra ส่วนที่มืดน้อย เป็นวงจาง ๆ ถัดจาก
Penumbra เรียกว่า Antumbra ซึ่งบางครั้งจะไม่ปรากฏชั้นของ Antumbra
ให้เห็น
หลังจากเสร็จสิ้นกิจกรรม ก็เป็นการนำเสนอบทความของเพื่อน
คนที่ 1 นางสาววิรัญดา ขยันงาม
การส่งเสริมให้เด็กเรียนรู้เกี่ยวกับพืชต่างๆ
พ่อแม่มีบทบาทสำคัญในการส่งเสริมการเรียนรู้ซึ่งสามารถจัดกิจกรรมเรียนรู้
ให้เด็กง่ายๆจากกิจวัตรประจำวัน หรือสิ่งแวดล้้อมรอบตัว เช่น
การเข้าครัวทำอาหารที่เกี่ยวกับผัก เด็กก็จะได้เรียนรู้ไปในตัว
ว่าผักชนิดนั้นที่เขาช่วยคุณแม่ล้างเป็นผักอะไร มีประโยชน์ อย่างไร
นอกจากเด็กได้เรียนรู้เกี่ยวผักแล้วยังเป็นการสร้างสัมพันธ์ระหว่างครอบครัว
อีกด้วย
คนที่ 2 นางสาวอรุณจิตร หาญห้าว
นิทานมีส่วนช่วยในการเรียนรู้คือ มีรูปภาพ เนื้อหาไม่เยอะจนเกินไป ฟังง่าย
สั้นๆกระชับ เรามักจะนำเนื้อหาความรู้ สอดแทรกผ่านการเล่านิทาน
การร้องเพลง ลักษณะของเพลงต้องมีจังหวะ ทำนอง
ฉะนั้นการเล่านิทานจึงง่ายกว่าการร้องเพลงประกอบเนื้อหาแต่ถ้ามองในความชอบ
ของเด็ก เด็กจะชอบการเล่าเนื้อหา ประกอบเพลงมากกว่า
คนที่ 3 นางสาวณัฐิดา รัตนชัย
เรื่องแนวทางสอนคิด เติมวิทย์ ให้เด็กอนุบาล
ดร.วรนาท รักสกุลไท นักการศึกษาปฐมวัยผู้อำนวยการโรงเรียนเกษมพิทยา
(ฝ่ายอนุบาล) กล่าวว่า
เราคงทราบดีกันอยู่เเล้วว่าวิทยาศาสตร์มีความสำคัญเพียงใด
แต่สำหรับเด็กอนุบาล
แนวทางการสอนต่างหากที่จะทำให้เด็กสนใจสิ่งที่สำคัญที่สุดคือ
ครูต้องแม่นยำในพัฒนาการของเด็ก เพื่อที่จะสามารถจัดการเรียรู้
ได้สอดคล้องกับพัฒนาการของเด็กรวมถึงต้องอย่าลืมเรื่องจินตนาการที่มีสูงใน
ด็กวัยนี้
คนที่ 4 นางสาวอนิทิมล เสมมา
เรื่อง การทดลองวิทยาศาสตร์สนุกๆกับคุณหนูๆ
การทดลองวิทาศาสตร์สำหรับเด็กยังช่วยฝึกให้ลูกน้อยเพิ่มทักษะความรู้
เกี่ยวกับการสังเกตและการค้นคว้าหาคำตอบด้วยเหตุและผล ทักษะการมอง
ทักษะการฟัง ทักษะการดม ทักษะการลิ้มรสช่วย ทักษะการสัมผัส เป็นต้น
หลังจากที่เพื่อนๆนำเสนอบทความเสร็จอาจารย์ก็ตรวจและแสดงความคิดเห็น mind map งานกลุ่มของแต่ละกลุ่ม
ศึกษาเพิ่มเติม
ฌอง ฌาค รุสโซ (Jean Jacques Rouseeau ) “เด็กเปรียบเสมือนผ้าขาว” การให้การศึกษาแก่เด็กทำความเข้าใจธรรมชาติของเด็กเสียก่อน
การทำงานของสมองคือ
อยู่ภายในกะโหลกศีรษะ แบ่งเป็น 3 ตอน คือ สมองส่วนหน้า (Forebrain)
สมองส่วนกลาง (Midbrain) และสมองส่วนท้าย (hindbrain)
สมองในสัตว์มีกระดูกสันหลังชั้นสูงจะมีวิวัฒนาการไปมากโดยเฉพาะส่วนหน้าจะมี
ขนาดใหญ่และซับซ้อนขึ้น แต่สมองส่วนกลางจะค่อย ๆ
เล็กลงเพราะจะลดความสำคัญลงไป
สมองส่วนหน้า (Forebrain)
ปลา และสัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำ สมองส่วนนี้ทำหน้าที่เพียงรับสัญญาณการดมกลิ่นจากเส้นประสาทสมองคู่ที่ 1 ส่วนสัตว์มีกระดูกสันหลังชั้นสูง ส่วนที่เรียกว่า Cerebrum จะควบคุมการใช้ความคิดความจำ การใช้เหตุผล การแปรหรือรับความรู้สึกชนิดต่าง ๆ เป็นศูนย์ควบคุมการเคลื่อนไหว การมองเห็นและการได้ยินเสียง Cerebrum มีร่องลึกหรือรอยบุ๋มมากมายเพื่อเป็นการเพิ่มพื้นที่ที่เรียกว่า convolution ส่วนท้ายของสมองส่วนหน้าแยกเป็น ธาลามัส (thalamus) และไฮโปธาลามัส (hypothalamus) ธาลามัสทำหน้าที่ถ่ายทอดสัญญาณความรู้สึกที่มาจากไขสันหลังและสมองเพื่อส่ง ไปยังส่วนหน้าสุดของซีรีบรัม ไฮโปธาลามัสอยู่ใต้ธาลามัสติดกับต่อมใต้สมอง (pituitary grand) ทำหน้าที่ควบคุมการนอนหลับ การกิน การกระหายน้ำ การหนีภัย การค่อสู้ การรักษาสมดุลของร่างกาย รวมทั้งการรักษาอุณหภูมิของร่างกาย และพฤติกรรมทางเพศ
สมองส่วนกลาง (Midbrain)
สัตว์ มีกระดูกสันหลังชั้นต่ำ สมองส่วนนี้เป็นศูนย์กลางของการมองเห็น สัตว์เลื้อยคลานกับนก ทำหน้าที่ถ่ายทอดสัญญาณการมองเห็นไปยังซีรีบรัม สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมเป็นเพียงสถานีถ่ายทอดสัญญาณระหว่างสมองส่วนท้ายและ สมองส่วนหน้า และระหว่างตากับสมองส่วนหน้า
สมองส่วนท้าย (Hindbrain)
ประกอบ ด้วยซีรีบรัม (cerebellum) เมดุลลาออบลองกาตา (medulla oblongata) และ พอนส์ (pons) ซีรีบลัมมีหน้าที่หลักในการควบคุมการทรงตัว ควบคุมและประสานงานการเคลื่อนไหว พอนส์ควบคุมการเคี้ยวและกลืน เมดุลลาออบลองกาตาทำหน้าที่ควบคุมการทำงานของระบบประสาทอัตโนมัติ เช่น ควบคุมการหายใจ การเต้นของหัวใจ เป็นต้น บทความของเพื่อน 1.การสอนเรื่องปรากฎการณ์ธรรมมีความสำคัญอย่างไร 2.วิทยาศาสตร์กับเด็กปฐมวัย ทักษะที่ได้รับ - การเรียงลำดับ - การจำแนก - การสังเกต สาระที่เด็กควรเรียนร - เรื่องราวเกี่ยวกับคนและสถานที่และสิ่งแวดล้อม- ธรรมชาติรอบตัว- สิ่งต่างๆรอบตัวเรา ความลับของแสง < The Secret of Light > แสงมีความสำคัญกับตัวเรามากเพราะแสงช่วยให้เรามองเห็นสิ่งต่างๆ ซึ่งจะเป็นคลื่นชนิดหนึ่งที่สั้นและยาว แสงยังเคลื่อนที่ได้เร็วถึง 300,000 กิโลเมตรต่อวินาที ถ้าวิ่งได้เร็วเท่าแสงจะวิ่งได้ 7 รอบต่อวินาทีแสงยังช่วยในการมองเห็นของรอบตัวเราได้เพราะแสงส่องสว่างลง มากระทบวัตถุหนึ่งต่อวัตถุหนึ่งทำให้เรามองเห็นสิ่งของได้ การเคลื่อนที่ 300,000 กิโลเมตรต่อวินาที วิ่งรอบโลก 7 รอบต่อวินาที ประเภทของวัตถุ - วัตถุโปร่งแสง - วัตถุโปร่งใส - วัตถุทึบแสง คุณสมบัติ - การหักเหของแสง - การเดินทางของแสงเป็นเส้นตรง - การสะท้อนของแสง ประโยชน์ - กล้องส่องทางไกล , ทำกล้องฉาพภาพ - ทำให้มองเห็นสิ่งรอ |
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น