บันทึกอนุทินครั้งที่ 9
EAED3207 Scince Experinces Management for Eariy Childhood
วิชา การจัดประสบการณ์ทางวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ผู้สอน
อาจารย์ จินตนา สุขสำราญ
วันที่ 14 เดือน ตุลาคม พ.ศ. 2557
เวลาเรียน 08.30 : 12.20 (วันอังคาร เช้า ) กลุ่มเรียน 103
คณะศึกษาศาสตร์ โปรแกรมวิชาการศึกษาปฐมวัย
ชื่อ : นางสาวศิรดา สักบุตร (Sirada Sakbud) รหัสประจำตัว 5511200684
การประเมินตนเอง
วันนี้มีการนำเสนอชิ้นงานสื่อทางวิทยาศาสตร์ มีการเตรียมสื่อมานำเสนอ
การประเมินเพื่อน
เพื่อนๆ มีการเตรียมสื่อมานำเสนอชิ้นงาน เป็นสื่อการเรียนรู้ทางวิทยาศาสตร์
การประเมินอาจารย์
อาจารย์คอยแนพนำ คอยชี้แนเพิ่มเติมกับชิ้นงานสื่อทางวิทยาศาส
วันนี้เตรียมสื่อ รถไฟฟ้าแม่เหล็กก มานำเสนอ
แม่เหล็ก เป็น แร่หรือโลหะที่มีสมบัติดูดเหล็กได้ ในประวัติศาสตร์ พบว่า สาร"Magnesian stone") ("หินแมกแนเซียน") เป็นวัตถุที่ดูดเหล็กได้ แม่เหล็ก (มาจากภาษากรีก μαγνήτις λίθος magnḗtis líthos) แม่เหล็กสามารถทำให้เกิดสนามแม่เหล็กได้
นั่นคือมันสามารถส่งแรงดูดหรือแรงผลัก ออกไปรอบๆตัวมันได้
แม้ว่าสนามแม่เหล็กจะเป็นสิ่งที่ไม่สามารถมองเห็นได้แต่มันเป็นเกี่ยวข้อง
กับคุณสมบัติสำคัญของแม่เหล็กโดยตรง ได้แก่
คุณสมบัติการดูดและการผลักกันระหว่างแท่งแม่เหล็ก
เราสามารถสร้างแม่เหล็กขึ้นมาได้ วิธีแรกคือ นำเหล็กมาถูกับแม่เหล็ก
วิธีที่สองคือ ป้อนกระแสไฟฟ้าเข้าไปในขดลวดที่พันรอบเหล็ก
แรงเหนี่ยวนำในขดลวดทำให้เหล็กนั้นกลายเป็นแม่เหล็กชั่วคราว และทำให้เกิด
สนามแม่เหล็กรอบ ๆ เหล็กนั้น[2] เราเรียกแม่เหล็กแบบนี้ว่า แม่เหล็กไฟฟ้า ปัจจุบัน มีสารอื่นที่ทำให้เป็นแม่เหล็กได้ เช่น นิเกิล โคบอล แมงกานีส
คุณสมบัติของแม่เหล็ก
- แม่เหล็กมี 2 ขั้วเสมอ ขั้วเหนือและขั้วใต้ ถ้าแขวนแท่งแม่เหล็กให้เคลื่อนที่อย่างอิสระ เมื่อหยุดนิ่ง ขั้วที่ชี้ไปทางทิศเหนือ เรียกว่า ขั้วเหนือ(N) ขั้วที่ชี้ไปทางทิศใต้ เรียกว่า ขั้วใต้(S)
- ขั้วแม่เหล็กทั้งขั้วเหนือและขั้วใต้จะดูดสารแม่เหล็กเสมอ
- เมื่อนำแม่เหล็ก 2 อันมาอยู่ใกล้กัน ขั้วเหมือนกันจะผลักกัน และขั้วต่างกันจะดูดกัน
- แรงดูดจะมีมากที่สุดที่บริเวณขั้วทั้งสองของแม่เหล็กและลดน้อยลงเมื่อถัดเข้ามา
- เส้นแรงแม่เหล็กมีทิศทางออกจากขั้วเหนือไปยังขั้วใต้ ทั้งสามมิติ
- สนามแม่เหล็กหมายถึงบริเวณที่แม่เหล็กส่งแรงไปถึง
การประเมินตนเอง
วันนี้มีการนำเสนอชิ้นงานสื่อทางวิทยาศาสตร์ มีการเตรียมสื่อมานำเสนอ
การประเมินเพื่อน
เพื่อนๆ มีการเตรียมสื่อมานำเสนอชิ้นงาน เป็นสื่อการเรียนรู้ทางวิทยาศาสตร์
การประเมินอาจารย์
อาจารย์คอยแนพนำ คอยชี้แนเพิ่มเติมกับชิ้นงานสื่อทางวิทยาศาส
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น