วันศุกร์ที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2557

บันทึกอนุทินครั้งที่ 12
EAED3207 Scince Experinces Management for Eariy Childhood
วิชา การจัดประสบการณ์ทางวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ผู้สอน
อาจารย์ จินตนา สุขสำราญ
วันที่ 4 เดือน พฤศจิกายน พ.ศ. 2557
เวลาเรียน 08.30 : 12.20 (วันอังคาร เช้า ) กลุ่มเรียน 103
คณะศึกษาศาสตร์ โปรแกรมวิชาการศึกษาปฐมวัย
ชื่อ : นางสาวศิรดา สักบุตร (Sirada Sakbud) รหัสประจำตัว 5511200684


การนำเสนอแผนกิจกรรมทั้ง  5  วัน



กิจกรรมแผนการเรียน  เรื่อง  ข้าวปั้นซูชิ












การประเมินตนเอง
มีส่วนร่วมในการทำกิจกรรม

การประเมินเพื่อน
เพื่อนๆ  มีส่วนร่วมในการทำกิจกรรม  แผนกลุ่ม

การประเมินอาจารย์
อาจารย์คอยให้คำแนพนำการเรียนการสอนตลอกทั้งคาบ
 



บันทึกอนุทินครั้งที่  11
EAED3207 Scince Experinces Management for Eariy Childhood
วิชา การจัดประสบการณ์ทางวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ผู้สอน
อาจารย์ จินตนา สุขสำราญ
วันที่ 28 เดือน ตุลาคม พ.ศ. 2557
เวลาเรียน 08.30 : 12.20 (วันอังคาร เช้า ) กลุ่มเรียน 103
คณะศึกษาศาสตร์ โปรแกรมวิชาการศึกษาปฐมวัย
ชื่อ : นางสาวศิรดา สักบุตร (Sirada Sakbud) รหัสประจำตัว 5511200684


เริ่มการเรียนด้วยการพูดคุยถึงพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์


       วิทยาศาสตร์ธรรมชาติ (อังกฤษ: natural science) หมายถึงกลุ่มของสาขาวิชาทางวิทยาศาสตร์ที่ ศึกษาเกี่ยวกับปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ อย่างไรก็ตามการจัดให้สาขาใดสาขาหนึ่งอยู่ในวิทยาศาสตร์ธรรมชาตินั้น ขึ้นอยู่กับทั้งข้อตกลงในอดีตและความหมายสาขาในปัจจุบัน
ตามธรรมเนียมดั้งเดิม ความหมายของวิทยาศาสตร์ธรรมชาติ คือสาขาที่ศึกษาเกี่ยวกับโลกและสรรพสิ่งรอบๆ ตัว (ที่เรียกว่าธรรมชาติ) ในมุมมองทางกายภาพ วิทยาศาสตร์ธรรมชาติเป็นพื้นฐานให้กับวิทยาศาสตร์ประยุกต์ เมื่อพิจารณารวมกันแล้ววิทยาศาสตร์ธรรมชาติและวิทยาศาสตร์ประยุกต์แตกต่างจากทั้งสังคมศาสตร์ และมนุษยศาสตร์ เทววิทยา หรือศิลปะ ส่วนวิชาคณิตศาสตร์นั้น ไม่ถูกจัดให้เป็นวิทยาศาสตร์ธรรมชาติ แต่ได้สร้างเครื่องมือและแนวทางที่ใช้ในวิทยาศาสตร์ธรรมชาติ วิทยาศาสตร์ธรรมชาติมีเป้าหมายเพื่ออธิบายการทำงานของโลกด้วยกระบวนการ ธรรมชาติ แทนที่จะใช้คำอธิบายที่มีรากฐานมาจากสิ่งศักดิ์สิทธิ์ คำว่าวิทยาศาสตร์ธรรมชาติยังถูกใช้เพื่อแยกแยะ "วิทยาศาสตร์" ที่เป็นสาขาวิชาที่ทำการศึกษาด้วยระเบียบวิธีทางวิทยาศาสตร์ ออกจากปรัชญาธรรมชาติ
ควบคู่ไปกับการความหมายแบบดั้งเดิม ปัจจุบันคำว่า "วิทยาศาสตร์ธรรมชาติ" ถูกใช้ในความหมายใกล้เคียงกับความหมายตามรูปศัพท์มากขึ้น ในความหมายนี้ "วิทยาศาสตร์ธรรมชาติ" จะถูกใช้แทนคำว่าวิทยาศาสตร์ชีวภาพซึ่งสนใจกระบวนการทางชีวภาพ ในลักษณะที่แตกต่างจากวิทยาศาสตร์กายภาพที่พิจารณากฎเกณฑ์พื้นฐานของธรรมชาติทางฟิสิกส์และเคมี





การประเมินตนเอง
วันนี้ไม่ได้มาเรียน  เนื่องจากติดธุระ  จึงนำความรู้ที่ได้จากเพื่อนๆ  มาเขียนในบล็อก

การประเมินเพื่อน
เพื่อนๆๆคอยให้คำปรึกษา  และอธิบายงานที่อาจารย์นำเสนอให้ฟัง

การประเมินอาจารย์
  -  

 


บันทึกอนุทินครั้งที่10
EAED3207 Scince Experinces Management for Eariy Childhood
วิชา การจัดประสบการณ์ทางวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ผู้สอน
อาจารย์ จินตนา สุขสำราญ
วันที่ 21 เดือน ตุลาคม พ.ศ. 2557
เวลาเรียน 08.30 : 12.20 (วันอังคาร เช้า ) กลุ่มเรียน 103
คณะศึกษาศาสตร์ โปรแกรมวิชาการศึกษาปฐมวัย
ชื่อ : นางสาวศิรดา สักบุตร (Sirada Sakbud) รหัสประจำตัว 5511200684


***************  การนำเสนอสื่อต่อจากอาทิตย์ที่แล้ว ********************





ทักษะและเทคนิควิธีการสอน


ทักษะและเทคนิคการสอน ความหมายคือความสามารถในการสอนอย่างมีประสิทธิภาพโดยสารถถ่ายทอดความรู้ต่างๆให้กับผู้เรียนได้ดี
เทคนิคการสอน หมายถึง กลวิธีต่างๆที่ใช้เสริมกระบวนการสอนการสอนการแบ่งทักษะการสอนมี 18ทักษะด้วยกัน จะแบ่งเหลือ 9 ทักษะ
ความสำคัญของทักษะการสอน
1.ทักษะนับเป็นจุดมุ่งหมายหมวดหนึ่งของการศึกษาซึ่งจะต้องฝึกควบคู่กับความรู้
2.เป็นการส่งเสริมความชำนาญคล่องแคล่ว
3.ช่วยให้เกิดความมั่นใจในตนเองมากขึ้น
4.ช่วยไม่ให้เกิดความผิดพลาดในการสอน
5.ช่วยให้งานสอนบรรลุตามจุดประสงค์ที่ตั้งไว้
6.ช่วยให้การทำงานมีประสิมธิภาพและสามารถพัฒนางานสอนขึ้นไปอีก
7.ช่วยทำให้เกิดความชื่นชม ศรัทธาจากผู้เรียน
ทักษะการสอนพื้นฐาน  หมายถึง ความสามารถในการสอน ซึ่งทักษะจะไม่สามารถเกิดขึ้นได้เองต้องฝึกฝน ผู้ที่เป็นครูควรได้มีการฝึกฝนเพื่อเป็นพื้นฐานในการสอนต่อไป เป็นที่เชื่อกันว่าการที่ครูจะมีความสารถในการใช้ทักษะให้ได้ผลนั้น
ทักษะการนำเข้าสู่บทเรียน
การนำเข้าสู่เรื่องที่จะเรียน เป็นขั้นการสอน หรือกิจกรรมที่จัขึ้น เพื่อเริ่มต้นทำการสอนเพื่อดึงความสนใจ ให้ผู้เรียนพร้อมที่จะติดตามบทเรียนต่อไป
จุดมุ่งหมาย
1.เพื่อให้ผู้เรียนเกิดความพร้อมในการที่จะเรียน
2.เพื่อโยงประสบการณ์เดิมของผู้เรียนเข้ากับประสบการณ์ที่จะสอน
3.เพื่อจัดบรรยากาศของการเรียนให้เป็นที่น่าสนใจอยากเรียนรู้
4.เพื่อกำหนดขอบเขตของบทเรียนว่าจะเรียนอะไร
5.ผู้ให้ผู้เรียนรู้ความหมายรู้ความคิดรวบยอด
การใช้ทักษะการนำเข้าสู่บทเรียน
  1. ก่อนเริ่มบทเรียนที่จะสอน
  2. ก่อนเริ่มอธิบาย
  3. ก่อนเริ่ม ตั้งคำถาม
  4. ให้นักเรียนอธิบาย
เทคนิคการนำเข้าสู่บทเรียน
1.ใช้อุปกรณ์การสอนเช่น รูปภาพ
2.ให้นักเรียนลองทำกิจกรรมบางอย่างที่สัมพันธ์กับบทเรียน
3.ใช้เรื่องเล่า นิทานหรือเหตุการณ์ต่างๆ
4.ตั้งปัญหา ทายปัญหาเพื่อเร้าความสนใจ
5.สนทนาซักถามถึงเรื่องต่างๆ
6.ทบทวนบทเรียนเดิมที่สัมพันธ์กับบทเรียนใหม่
7.แสดงละคร
8.ร้องเพลงซึ่งเป็นเพลงที่เกี่ยวข้อง
9.สาธิต ซึ่งอาจจะสาธิตโดยครู
10.ทำสิ่งที่แปลกไปจากเดิม
11.ให้นักเรียนฟังเสียงต่างๆ


การประเมินตนเอง
 ตั้งใจฟังบ้างไม่ตั้งใจฟังบ้าง  แต่แต่งกายมาเรียนเรียนร้อย

การประเมินเพื่อน
เพื่อนๆ  ตั้งใจฟังอาจารย์ผู้สอน  เป็นระยะๆ

การประเมินอาจารย์
 อาจารย์คอยให้คำเสนอแนะเพิ่อมเติมกับสื่อแต่ละชิ้น  และแนะนำเทคนิกการสอนเพิ่มเตม
บันทึกอนุทินครั้งที่ 9
EAED3207 Scince Experinces Management for Eariy Childhood
วิชา การจัดประสบการณ์ทางวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ผู้สอน
อาจารย์ จินตนา สุขสำราญ
วันที่ 14 เดือน ตุลาคม พ.ศ. 2557
เวลาเรียน 08.30 : 12.20 (วันอังคาร เช้า ) กลุ่มเรียน 103
คณะศึกษาศาสตร์ โปรแกรมวิชาการศึกษาปฐมวัย
ชื่อ : นางสาวศิรดา สักบุตร (Sirada Sakbud) รหัสประจำตัว 5511200684


 วันนี้เตรียมสื่อ  รถไฟฟ้าแม่เหล็กก  มานำเสนอ
แม่เหล็ก เป็น แร่หรือโลหะที่มีสมบัติดูดเหล็กได้ ในประวัติศาสตร์ พบว่า สาร"Magnesian stone") ("หินแมกแนเซียน") เป็นวัตถุที่ดูดเหล็กได้ แม่เหล็ก (มาจากภาษากรีก μαγνήτις λίθος magnḗtis líthos) แม่เหล็กสามารถทำให้เกิดสนามแม่เหล็กได้ นั่นคือมันสามารถส่งแรงดูดหรือแรงผลัก ออกไปรอบๆตัวมันได้ แม้ว่าสนามแม่เหล็กจะเป็นสิ่งที่ไม่สามารถมองเห็นได้แต่มันเป็นเกี่ยวข้อง กับคุณสมบัติสำคัญของแม่เหล็กโดยตรง ได้แก่ คุณสมบัติการดูดและการผลักกันระหว่างแท่งแม่เหล็ก เราสามารถสร้างแม่เหล็กขึ้นมาได้ วิธีแรกคือ นำเหล็กมาถูกับแม่เหล็ก วิธีที่สองคือ ป้อนกระแสไฟฟ้าเข้าไปในขดลวดที่พันรอบเหล็ก แรงเหนี่ยวนำในขดลวดทำให้เหล็กนั้นกลายเป็นแม่เหล็กชั่วคราว และทำให้เกิด สนามแม่เหล็กรอบ ๆ เหล็กนั้น[2] เราเรียกแม่เหล็กแบบนี้ว่า แม่เหล็กไฟฟ้า ปัจจุบัน มีสารอื่นที่ทำให้เป็นแม่เหล็กได้ เช่น นิเกิล โคบอล แมงกานีส
รูปแสดงการเรียงตัวของผงตะไบเหล็กในสนามแม่เหล็ก
คุณสมบัติของแม่เหล็ก
  1. แม่เหล็กมี 2 ขั้วเสมอ ขั้วเหนือและขั้วใต้ ถ้าแขวนแท่งแม่เหล็กให้เคลื่อนที่อย่างอิสระ เมื่อหยุดนิ่ง ขั้วที่ชี้ไปทางทิศเหนือ เรียกว่า ขั้วเหนือ(N) ขั้วที่ชี้ไปทางทิศใต้ เรียกว่า ขั้วใต้(S)
  2. ขั้วแม่เหล็กทั้งขั้วเหนือและขั้วใต้จะดูดสารแม่เหล็กเสมอ
  3. เมื่อนำแม่เหล็ก 2 อันมาอยู่ใกล้กัน ขั้วเหมือนกันจะผลักกัน และขั้วต่างกันจะดูดกัน
  4. แรงดูดจะมีมากที่สุดที่บริเวณขั้วทั้งสองของแม่เหล็กและลดน้อยลงเมื่อถัดเข้ามา
  5. เส้นแรงแม่เหล็กมีทิศทางออกจากขั้วเหนือไปยังขั้วใต้ ทั้งสามมิติ
  6. สนามแม่เหล็กหมายถึงบริเวณที่แม่เหล็กส่งแรงไปถึง
เพื่อนๆเตรียมสื่อมานำเสนอ









การประเมินตนเอง

วันนี้มีการนำเสนอชิ้นงานสื่อทางวิทยาศาสตร์  มีการเตรียมสื่อมานำเสนอ

การประเมินเพื่อน
 เพื่อนๆ  มีการเตรียมสื่อมานำเสนอชิ้นงาน  เป็นสื่อการเรียนรู้ทางวิทยาศาสตร์

การประเมินอาจารย์
 อาจารย์คอยแนพนำ  คอยชี้แนเพิ่มเติมกับชิ้นงานสื่อทางวิทยาศาส
บันทึกอนุทินครั้งที่  8
EAED3207 Scince Experinces Management for Eariy Childhood
วิชา การจัดประสบการณ์ทางวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ผู้สอน
อาจารย์ จินตนา สุขสำราญ
วันที่ 7 เดือน ตุลาคม พ.ศ. 2557
เวลาเรียน 08.30 : 12.20 (วันอังคาร เช้า ) กลุ่มเรียน 103
คณะศึกษาศาสตร์ โปรแกรมวิชาการศึกษาปฐมวัย
ชื่อ : นางสาวศิรดา สักบุตร (Sirada Sakbud) รหัสประจำตัว 5511200684






***********  งดการเรียนการสอน  ***************





เป็นสัปดาห์ของการสอบปลายภาค



บันทึกอนุทินครั้งที่7
EAED3207 Scince Experinces Management for Eariy Childhood
วิชา การจัดประสบการณ์ทางวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ผู้สอน
อาจารย์ จินตนา สุขสำราญ
วันที่ 30 เดือน กันยายน พ.ศ. 2557
เวลาเรียน 08.30 : 12.20 (วันอังคาร เช้า ) กลุ่มเรียน 103
คณะศึกษาศาสตร์ โปรแกรมวิชาการศึกษาปฐมวัย
ชื่อ : นางสาวศิรดา สักบุตร (Sirada Sakbud) รหัสประจำตัว 5511200684


บทความ (Article)


การทำกิจกรรมการเรียนการสอนในชั้นเรียน


  การผลิต กังหันหมุนแล้วให้นนักศึกษา ออกไปโยสิ่งประดิษฐ์ ของตน
แล้วสังเกตเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น การเปลี่ยนแปลงต่างๆ ความแตกต่างของผลงานของแต่ละคน 
การประดิษฐ์ชิ้นที่ 2 แกนทิชชู



ขั้นตอนการประดิษฐ์

1 นำกระดาษที่ได้มาพับครึ่ง  แล้วนำกรรไกรมาตัดเป็นแนวตรงยาวให้ชิดกับรอยพับครึ่งของกรรไกร
2 พับส่วนบนของกระดาษเข้ามา  1 เซนติเมตร
3 นำคลิปหนีบกระดาษมาหนีบไว้ด้านที่พับส่วนบนเข้ามา  จากนั้นกางปีกส่วนที่โดนตัดออกไปคนละด้าน    กัน
4 นำมาทดลองเล่น  โดยการโยนและทำให้กระดาษหมุน
นำเสนอบทความ

1. นางสาวจิราวรรณ นวลโฉม
เรื่อง ฝึกลูกให้คิดแบบวิทยาศาสตร์
วิธีฝึก การสอนแบบใช้ 5 E
1.การมีส่วนร่วม
2.ขั้นการสำรวจ ให้ค้นคว้าสิ่งต่างๆด้วยตนเอง
3.ขั้นอธิบาย  ให้ลูกวิเคราะห์อธิบายขั้นที่ผ่านมาตามความเข้าใจ
4.ขั้นรละเอียด ให้เด็กได้เชื่อมโยงความรู้ และขยายความรู้ที่ได้เรียนรู้มา
5.ขั้นนประเมิน ให้เด็กประเมินนตนที่ผ่านมาอย่างเป็นไปแบบมีเหตุมีผล

2.นางสาวแอนนา ชาวสวน
เรื่อง วิทยาศาสตร์เรียนนรู้จากไก่และเป็ด
เป็นความแบบ สืบเสาะ โดยให้เด็กรู้จักสังเกตเปรียบเทียบข้อมูลทั้งเป็ดและไก่แล้วนำมาเปรียบเทียบ ข้อเหมือนและข้อแตกต่าง ระหว่างไก่และเป็ด และให้เด็กออกมาสรุปเอง ผ่านสิ่งประดิษฐ์ที่เด็กประดิษฐ์ขึ้นมาเองทั้งเป็ดและไก่  การที่ให้เด็กสังเกตนอกสถานที่ จะทำให้เด็กได้รับทั้งประสบการณ์และได้สัมผัสกับสิ่งที่เขาได้ทดลองเรียน นรู้ที่เป็นของจริง

3.นางสาวชนิดา บุญนาโค
เรื่อง ให้เด็กมีความสนุกสนานในการเรียนนรู้วิทยาศาสตร์อย่างไร
  • สร้างเจตคติที่ดีให้กับเด็ก 
  • ให้เด็กสังเกตและทดลองจริง
  • บูรณาการวิทาศาสตร์เข้ากับรายวิชาอื่นๆ
  • เปลี่ยนบรรยากาศพาเด็กไปสำรวจ
  • ให้เด้กประดิษฐ์ชิ้นงาน
  • พาเด็กไปชมนิทรรศการเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์
  • นำนิทานมาสอดแทรกเนื้อหาวิทยาศาสตร์
  • ให้เด็กจัดนิทรรศการเอง
4.นางสาวสรวงกมล สุเทวี
เรื่อง หลักสูตรวิทยาศาสตร์
วิทยา ศาสตร์มีความจำเป็นต่อเด็ก เพราะวิทยาศาสตร์จะช่วยให้เด็กได้เรียนรู้ ได้ทดลอง การหาเหตุผลด้วยตนเอง เพราะวิทยาศาสตร์เป็นสิ่งที่อยู่รอบตัวเด็ก หลักสูตร คือ มวลประสบการณ์ที่เราจัดให้กับเด็กที่ส่งเสริมพัฒนาการทั้ง 4 ด้าน ให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์แบบ

5.นางสาวณัชลิตา สุวรรณมณี
คุณ ครูหรือผู้ปกครองไม่ควรปิดกั้นการตั้งคำถามของเด็ก และกระบวนการคิดผ่านโครงงาน กระบวนการคิดของเด็กในเมืองกับเด็กชนบทจะแตกต่างกันเนื่องจาก สภาพแวดล้อม เนื้อหาข้อมูล ความเป็นอยู่ เป็นต้น


เทคนิคการสอนของอาจารย์
อา จาร์ยผู้สอนให้นักศึกษาได้ใช้ความคิดแบบอิสระ  ให้เด็กได้คิด  และทำตามจินตนาการความคิดสร้างสรรค์ในการออกแบบภาพการ์ตูน  และการเล่นอย่างไรให้สิ่งของเคลื่อนไหวได้  สิ่งที่เด็กจะได้ ได้ฝึกการสังเกต  และลงมือประดิษฐ์เอง โดยมีอาจาร์ยผู้สอนให้คำปรึกษาอยู่ห่างๆ

การนำไปประยุกต์ใช้
     สามารถนำกิจกรรมงานประดิษฐ์ที่ครูสอนไปใช้ในการเรียนการสอนเด็กปฐมวัยใน อนาคต   และสามารถนำไปใช้ในกิจกรรมศิลปะ   วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์   เกี่ยวกับการเคลื่อนไหว  แรงดึง  เเรงดัน   จะทำให้เด็กมีจินตนาการความคิดสร้างสรรค์ไปในตัว  และได้ปฏิบัติงานด้วยตนเอง



ประเมินตนเอง 
แต่งการเรียนร้อย
ประเมินเพื่อน
เพื่อนๆ อาจจะมีคุยกันบ้างนิดหน่อย  แต่ให้ความร่วมมือในการทำกิจกรรม
 
ประเมินครูผู้สอน  
อาจารย์สอนเข้าใจง่าย   เเต่งกายเรียบร้อย  เเละเข้าสอนตรงเวลา 

บันทึกอนุทินครั้งที่6
EAED3207 Scince Experinces Management for Eariy Childhood
วิชา การจัดประสบการณ์ทางวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ผู้สอน
อาจารย์ จินตนา สุขสำราญ
วันที่ 21 เดือน กันยายน พ.ศ. 2557
เวลาเรียน 08.30 : 12.20 (วันอังคาร เช้า ) กลุ่มเรียน 103
คณะศึกษาศาสตร์ โปรแกรมวิชาการศึกษาปฐมวัย
ชื่อ : นางสาวศิรดา สักบุตร (Sirada Sakbud) รหัสประจำตัว 5511200684




บทความ


-  สอนลูกเรื่องพีช  (Plants)
             การสอนลูกมีความสำคัญต่อเด็กปฐมวัย  ่การส่งเสริมพัฒนาการทางด้านร่างกาย  กิจกรรมการเคลื่อนไหวเป็นต้นไม้การถูกลมพัดให้โอเอน  ทำให้เด็กเคลื่อนไหวร่างกายด้านต่าง  การส่งเสริมพัฒนาการทางด้านอารมณ์ - จิตใจ  เด็กได้เกิดความรู้และยังได้เกิดการผ่อนคลายทางด้านอารมณ์  การส่งเสริมด้านสังคม  ทำให่้เด๋กได้มีการเรียนรู้และการมีปฏิสัมพันธ์กับกลุ่มเพื่อน  การส่งเสริมพัฒนาการทางด้านสติปัญญามีทักษะพื้นฐานทางด้านคณิตศาสตร์จากกการวัดส่วนสูงการคาดคะเนเรื่องของเวลา



ทฤษฏีการสร้างความรู้ด้วยตนเองโดยการสร้างชิ้นงาน



หลักการ
  1. การเรียนรู้ที่ดีเกิดจากการสร้างพลังความรู้ในตนเองด้วยตนเองของผู้เรียน
  2. ผู้เรียนที่มีโอกาสได้สร้างความคิดและนำความคิดของตนเองไปสร้างชิ้นงาน โดยอาศัยสื่อและเทคโนโลยีที่เหมาะสม จะได้เห็นความคิดนั้นเป็นรูปธรรม
  3. การสร้างความรู้ในตนเองของผู้เรียน เกิดขึ้นเมื่อผู้เรียนสร้างสิ่งใดสิ่งหนึ่งขึ้นมา
  4. ความรู้ที่ผู้เรียนสร้างขึ้น จะเป็นความรู้ที่มีความหมายต่อผู้เรียน มีความคงทน ไม่ลืมง่าย และและสามารถถ่ายทอดให้คนอื่นเข้าใจความคิดของตนเองได้ดี
  5. ความรู้ที่ผู้เรียนสร้างขึ้น จะเป็นฐานให้ผู้เรียนสามารถสร้างความรู้ใหม่ต่อไปอย่างไม่สิ้นสุด
�การประยุกต์ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
  1. การใช้สื่อและเทคโนโลยีที่เหมาะสมในการให้ผู้เรียนสร้างสาระการเรียนรู้และผลงานต่าง ๆ ด้วยตนเอง
  2. การสร้างสภาพแวดล้อมที่มีบรรยากาศที่หลากหลาย เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้เลือกตามความสนใจ
  3. เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ทำในสิ่งที่สนใจ ซึ่งจะทำให้ผู้เรียนมีแรงจูงใจในการคิด การทำ และการเรียนรู้ต่อไป
  4. จัดสภาพแวดล้อมที่มีความแตกต่างกัน เพื่อประโยชน์ในการเรียนรู้ เช่น วัย ความถนัด ความสามารถ และประสบการณ์
  5. สร้างบรรยากาศที่มีความเป็นมิตร
  6. ครูต้องทำหน้าที่อำนวยความสะดวกในการเรียนรู้แก่ผู้เรียน
  7. การประเมินผลการเรียนรู้ต้องประเมินทั้งผลงานและกระบวนการ
  8. ใช้วิธีการที่หลากหลายในการประเมิน เช่น การประเมินตนเอง การประเมินโดยครูและเพื่อน การสังเกต การประเมินโดยแฟ้มสะสมงาน

 กิจกรรมการสร้างชิ้นงานภายในห้องเรียน 





เฟรดริด วิสเฮม  เฟรอเบล
   


       เฟรดริด วิสเฮม  เฟรอเบล  ผู้นำการศึกาาอนุบาลได้รับการขนานนาม(denominate)
ว่าเป็นบิดา    "การศึกาาปฐมวัย"
ด้วยการพัฒนาโรงเรียนอนุบาลแห่งแรกขึ้นในประเทศเยอรมนีในปี ค.ศ. 1837 เป็นผู้ริเริ่มแนวคิดการจัดการศึกษาปฐมวัยให้เป็นไปอย่างมีรูปแบบ กำหนดให้มีการวางแผนการสอน มีหลักสูตรสำหรับการศึกษาปฐมวัย มีการฝึกหัดครู รวมถึงการพัฒนาการสอนเด็กปฐมวัยด้วยการผลิตอุปกรณ์การสอน ที่เรียกว่า ชุดอุปกรณ์ และการจัดกิจกรรมสำหรับเด็กปฐมวัยที่เรียกว่า การงานอาชีพ เฟรอเบลเชื่อว่าเด็กมีความสามารถในสิ่งดีงาม มาตั้งแต่เกิด เด็กปฐมวัยควรจะเรียนรู้ด้วยการเล่น การแสดงออกอย่างอิสระ เด็กควรได้รับประสบการณ์จากการเรียนรู้ทั้งนอกชั้นและในชั้นเรียน(class)โดยเฉพาะ ประสบการณ์ที่ได้มาจากการเล่น ด้วยเหตุผลนี้เฟรอเบลจึงใช้พื้นฐานความพร้อมของเด็กในการเรียน พัฒนาการตามช่วงอายุ ธรรมชาติของเด็กและเหตุผลทางคณิตศาสตร์ที่เฟรอเบลมีความสนใจมาจัดทำเป็นชุด ของเล่นและกิจกรรมสำหรับเด็กที่สอดคล้องกับวัยของเด็กโดยเรียกชื่อว่า ชุดอุปกรณ์ (Gifts) และการงานอาชีพ (Occupations)


จอห์น ล็อก


       จอห์น ล็อก (John Locke) (29 สิงหาคม พ.ศ. 2175-28 ตุลาคม พ.ศ. 2247) เป็นนักปรัชญา ชาวอังกฤษ ในยุคคริสต์ศตวรรษที่ 17 ความสนใจหลักของเขาคือสังคมและทฤษฎีของความรู้ แนวคิดของล็อกที่เกี่ยวกับ "ผู้ปกครองที่ได้รับการยอมรับจากผู้ใต้ปกครอง" และสิทธิธรรมชาติของมนุษย์ ที่เขาอธิบายว่าประกอบไปด้วย ชีวิต, เสรีภาพ  (freedom), และทรัพย์สิน(bags) นั้นมีอิทธิพลอย่างมากต่อพัฒนาการทางปรัชญาการเมือง แนวคิดของเขาเป็นพื้นฐานของกฎหมายและรัฐบาลอเมริกัน ซึ่งผู้บุกเบิกได้ใช้มันเป็นเหตุผลของการปฏิวัติแนวคิดด้านญาณวิทยาของล็อกนั้นมีอิทธิพลสำคัญไปจนถึงช่วงของยุคแสง สว่าง. เขามีทัศนะเกี่ยวกับทฤษฎีความรู้ว่า ความรู้จะต้องเกิดหลังประสบการณ์ และความรู้จะเกิดขึ้นโดยอาศัยการสัมผัส เมื่อมนุษย์ได้สัมผัสก็จะมีความรู้สึก และความรู้สึกจะทำให้มนุษย์นั้นคิด และความคิดนี้คือแหล่งกำเนิดแห่งความรู้ หากปราศจากการสัมผัสมนุษย์ก็จะไม่คิด เพราะจิตโดยธรรมชาติจะมีสภาพอยู่เฉย. เขาถูกจัดให้อยู่ในกลุ่มเดียวกับนักประสบการณ์นิยมชาวบริติช ซึ่งประกอบไปด้วยเดวิด ฮูม และจอร์จ บาร์กลีย์ ล็อกมักถูกนำไปเปรียบเทียบกับโทมัส ฮอบบส์

การนำไปประยุกต์ใช้

     เราสามรถนำกิจกรรมที่ได้จากการเรียนการสอนในวันนี้ไปใช้ในการเรียนรายวิชาต่างๆ  การนำเอารายวิชามาบูรณาการณ์การเรียนการสอนในรายวิชา  การนำสื่อมาใช้ในการประกอบการเรียนการสอน  โดยให้เด็กมีส่วนร่วมในการทำกิจกรรม  อย่างการวาดรูประบายสีเราสามารถนำมาบูรณรการณ์กับรายวิชาศิลปะได้

การประเมิน
  การประเมินตนเอง 
    มีส่วนร่วมในการทำกิจกรรมในห้องเรียนที่อาจารย์เตรียมมาใช้ในการเรียนการสอน   /  การแต่งกาย  ถูกระเบียบ
 การประเมินเพื่อน
   เพื่อนๆมีส่วนร่วมในการทำกิจกรรมที่อาจารย์เตรียมมาในการเรียนการสอนเช่นกัน  เพื่อนๆมีความสนใจในการทำกิจกรรม  

การประเมินอาจารย์
   อาจารย์มีการเตรียมกิจกรรมการเรียนการสอนมา   เพื่อนให้นักศึกษามีส่วนร่วมในการประดิษฐ์สื่อ
การเรียนการสอน


คำศัพท์ที่ได้จากการเรียนการสอน
   
      -  เสรีภาพ  (freedom)
      -  ทรัพย์สิน(bags)
      -  ชุดอุปกรณ์ (Gifts) 
      -   การงานอาชีพ (Occupations)
      -  ชั้นเรียน  (class)
      -  ขนานนาม(denominate)
บันทึกอนุทินครั้งที่5
EAED3207 Scince Experinces Management for Eariy Childhood
วิชา การจัดประสบการณ์ทางวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ผู้สอน
อาจารย์ จินตนา สุขสำราญ
วันที่ 16 เดือน กันยายน พ.ศ. 2557
เวลาเรียน 08.30 : 12.20 (วันอังคาร เช้า ) กลุ่มเรียน 103
คณะศึกษาศาสตร์ โปรแกรมวิชาการศึกษาปฐมวัย
ชื่อ : นางสาวศิรดา สักบุตร (Sirada Sakbud) รหัสประจำตัว 5511200684

บทความ  (Article)
 - วิทยาศาสตร์กับเด็กปฐมวัย
        วิทยาศาสตร์  มีบทบสทอย่างยิางต่อการดำรงชีวิตของมนุษย์  การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ทางวิทยาศาสตร์ควรเน้นให้ผู้เรียนเป็นศูนย์กลางเปิดโอกาสให้เด็กมีส่วนร่วมในการทำกิจกรรมมีประสบการณืตรงให้เด็กได้ลงมือปฏิบัติจริงดดยครูเป็นผู้ตอบสนองความสนใจของเด็กและส่งเสริมการจัดกระบวนการความคิดประสบการณ์เพื่อพัฒนามุมมองและความเข้าใจทางวิทยาศาสตร์
      -  เป้าหมายสำคัญใการจัดประสบการณ์
        1.แสดงความเรียนรู้ตระหนักเกี่ยวกับธรรมชาติ
        2.ดำเนินการสืบเสาะหาความรู้ด้วยตนเอง
        3.แสดงความเข้าใจและรู้จักดูแลรักษาธรรมชาติ

- การสอนลูกเรื่องปรากฏการธรรมชาติสำคัยอย่างไร  (Natural Phenomena)
        ปรากฏการทางธรรมชาติ  หมายถึง  สิ่งที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติมนุษย์ไม่ได้เป็นผู้สร้างขึ้นแต่มีผลกระทบต่อมนุษย์โดยตรง  เช่น  ฝนตก  ฟ้าร้อง  ฟ้าผ่า  รุ้งกินน้ำ  กลางวัน  กลางคืน  ภาวะโลกร้อน  ปรากฏการณืทางธรรมชาติเป็นสาระสำคัญสำหรับเด็กปฐมวัย  จัดอยู่ในสาระการเรียนรู้ทางวิทยาศาสตร์ที่มีความหมายอย่างเหมาะสมในการนำมาจัดให้เด็กได้เรียนรู้

   -  ทักษะการสังเกต
   -  ทักษะการจำแนกเปรียบเทียบ
   -  ทักษะการรับฟัง
   -  ทักษะการตั้งใจ
   -  ทักษะการสรุปข้อมูล
กล้องสลับลาย หรือ คาไลโดสโคป
   
        กล้องสลับลาย หรือคาไลโดสโคป (อังกฤษ: kaleidoscope) คือกล้องรูปร่างทรงกระบอก ด้านในประกอบด้วยกระจกเงาหลายแผ่นหันหน้าเข้าหากัน ปลายด้านหนึ่งเจาะช่องไว้สำหรับมอง ปลายอีกด้านมีช่องแสงเข้าซึ่งบรรจุวัตถุต่างๆ เช่น ลูกปัด, กรวด, กระดาษ หรือเศษแก้วหลายสีเอาไว้
เมื่อนำกล้องส่องไปที่แหล่งกำเนิดแสง แสงจะผ่านวัตถุที่ใส่ไว้ และสะท้อนกระจกเงาด้านในกลับไปกลับมาหลายครั้ง เกิดเป็นลวดลายที่สวยงาม โดยลวดลายจะเปลี่ยนไปเรื่อยๆ เมื่อเขย่ากล้อง
 
รุ้งกินน้ำ
   
      รุ้งกินน้ำ  เป็นปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่เกิดขึ้นหลังจากฝนตก โดยเกิดขึ้นจากแสงแดดส่องผ่านละอองน้ำในอากาศ ทำให้แสงสีต่าง ๆ เกิดการหักเหขึ้น จึงเห็นเป็นแถบสีต่าง ๆ ปรากฏขึ้นบนท้องฟ้า รุ้งปฐมภูมิจะประกอบด้วยสีม่วง คราม น้ำเงิน เขียว เหลือง แสด และแดง โดยมีสีม่วงอยู่ชั้นในสุดและสีแดงอยู่ชั้นนอกสุด ส่วนรุ้งทุติยภูมิจะมีสีเช่นเดียวกันแต่เรียงลำดับในทิศทางตรงกันข้าม


 แสงและเงา (Light and Shade) article
แสง เป็นส่วนที่สำคัญที่สุดเพราะเป็นต้นกำเนิดที่ทำให้เกิดภาพที่ตาของเราสามารถ มองเห็น แสงที่เราเห็นเป็นสีขาวประกอบด้วยคลื่นแสงของสีหลาย ๆ สีมารวมกัน เมื่อแสงเดินทางไปกระทบวัตถุหนึ่ง ๆ คลื่นแสงของสีบางสีถูกวัตถุดูดกลืนไปและสะท้อนคลื่นแสงสีอื่นเข้าสู่ตาเราทำ ให้เรามองเห็นวัตถุเป็นสีนั้น การที่ตาของเราเห็นความเข้มของแสงที่บริเวณต่าง ๆ บนผิวของวัตถุไม่เท่ากันเนื่องมาจากระยะห่างระหว่างแหล่งกำเนิดแสงกับผิวของ วัตถุที่บริเวณต่าง ๆ ยาวไม่เท่ากัน และระนาบของผิวของวัตถุทำมุมกับแหล่งกำเนิดแสงไม่เท่ากัน บริเวณที่สว่างที่สุดบนผิววัตถุเรียกว่า Highlight ส่วนบริเวณของวัตถุที่ไม่ถูกแสงกระทบจะพบกับความมืด ความมืดบนผิวของวัตถุจะมีมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับว่ามีแสงจากที่ใดที่หนึ่ง มากระทบน้อยหรือมาก บริเวณที่มืดที่สุดบนผิววัตถุเรียกว่า High Shade การที่แสงส่องมายังวัตถุ จะถูกตัววัตถุบังไว้ทำให้เกิดเงาของวัตถุไปปรากฏบนพื้นที่ที่วางวัตถุนั้น บริเวณของเงาจะแบ่งได้เป็น 3 ส่วน ส่วนที่มืดที่สุดเรียกว่า Umbra ส่วนที่มืดปานกลางเรียกว่า Penumbra ส่วนที่มืดน้อย เป็นวงจาง ๆ ถัดจาก Penumbra เรียกว่า Antumbra ซึ่งบางครั้งจะไม่ปรากฏชั้นของ Antumbra ให้เห็น



หลังจากเสร็จสิ้นกิจกรรม ก็เป็นการนำเสนอบทความของเพื่อน
คนที่ 1 นางสาววิรัญดา ขยันงาม
การส่งเสริมให้เด็กเรียนรู้เกี่ยวกับพืชต่างๆ พ่อแม่มีบทบาทสำคัญในการส่งเสริมการเรียนรู้ซึ่งสามารถจัดกิจกรรมเรียนรู้ ให้เด็กง่ายๆจากกิจวัตรประจำวัน หรือสิ่งแวดล้้อมรอบตัว เช่น การเข้าครัวทำอาหารที่เกี่ยวกับผัก เด็กก็จะได้เรียนรู้ไปในตัว ว่าผักชนิดนั้นที่เขาช่วยคุณแม่ล้างเป็นผักอะไร มีประโยชน์ อย่างไร นอกจากเด็กได้เรียนรู้เกี่ยวผักแล้วยังเป็นการสร้างสัมพันธ์ระหว่างครอบครัว อีกด้วย
คนที่ 2 นางสาวอรุณจิตร หาญห้าว
นิทานมีส่วนช่วยในการเรียนรู้คือ มีรูปภาพ เนื้อหาไม่เยอะจนเกินไป ฟังง่าย สั้นๆกระชับ เรามักจะนำเนื้อหาความรู้ สอดแทรกผ่านการเล่านิทาน 
การร้องเพลง ลักษณะของเพลงต้องมีจังหวะ ทำนอง ฉะนั้นการเล่านิทานจึงง่ายกว่าการร้องเพลงประกอบเนื้อหาแต่ถ้ามองในความชอบ ของเด็ก เด็กจะชอบการเล่าเนื้อหา ประกอบเพลงมากกว่า
คนที่ 3 นางสาวณัฐิดา รัตนชัย
เรื่องแนวทางสอนคิด เติมวิทย์ ให้เด็กอนุบาล
ดร.วรนาท รักสกุลไท นักการศึกษาปฐมวัยผู้อำนวยการโรงเรียนเกษมพิทยา (ฝ่ายอนุบาล) กล่าวว่า  เราคงทราบดีกันอยู่เเล้วว่าวิทยาศาสตร์มีความสำคัญเพียงใด แต่สำหรับเด็กอนุบาล แนวทางการสอนต่างหากที่จะทำให้เด็กสนใจสิ่งที่สำคัญที่สุดคือ ครูต้องแม่นยำในพัฒนาการของเด็ก เพื่อที่จะสามารถจัดการเรียรู้ ได้สอดคล้องกับพัฒนาการของเด็กรวมถึงต้องอย่าลืมเรื่องจินตนาการที่มีสูงใน ด็กวัยนี้
คนที่ 4 นางสาวอนิทิมล เสมมา 

เรื่อง การทดลองวิทยาศาสตร์สนุกๆกับคุณหนูๆ
การทดลองวิทาศาสตร์สำหรับเด็กยังช่วยฝึกให้ลูกน้อยเพิ่มทักษะความรู้ เกี่ยวกับการสังเกตและการค้นคว้าหาคำตอบด้วยเหตุและผล ทักษะการมอง ทักษะการฟัง  ทักษะการดม ทักษะการลิ้มรสช่วย ทักษะการสัมผัส เป็นต้น
หลังจากที่เพื่อนๆนำเสนอบทความเสร็จอาจารย์ก็ตรวจและแสดงความคิดเห็น mind map งานกลุ่มของแต่ละกลุ่ม
       
ศึกษาเพิ่มเติม
ฌอง ฌาค รุสโซ (Jean Jacques Rouseeau ) “เด็กเปรียบเสมือนผ้าขาว” การให้การศึกษาแก่เด็กทำความเข้าใจธรรมชาติของเด็กเสียก่อน
การทำงานของสมองคือ

         อยู่ภายในกะโหลกศีรษะ แบ่งเป็น 3 ตอน คือ สมองส่วนหน้า (Forebrain) สมองส่วนกลาง (Midbrain) และสมองส่วนท้าย (hindbrain) สมองในสัตว์มีกระดูกสันหลังชั้นสูงจะมีวิวัฒนาการไปมากโดยเฉพาะส่วนหน้าจะมี ขนาดใหญ่และซับซ้อนขึ้น แต่สมองส่วนกลางจะค่อย ๆ เล็กลงเพราะจะลดความสำคัญลงไป

สมองส่วนหน้า (Forebrain)
ปลา และสัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำ สมองส่วนนี้ทำหน้าที่เพียงรับสัญญาณการดมกลิ่นจากเส้นประสาทสมองคู่ที่ 1 ส่วนสัตว์มีกระดูกสันหลังชั้นสูง ส่วนที่เรียกว่า Cerebrum จะควบคุมการใช้ความคิดความจำ การใช้เหตุผล การแปรหรือรับความรู้สึกชนิดต่าง ๆ เป็นศูนย์ควบคุมการเคลื่อนไหว การมองเห็นและการได้ยินเสียง Cerebrum มีร่องลึกหรือรอยบุ๋มมากมายเพื่อเป็นการเพิ่มพื้นที่ที่เรียกว่า convolution ส่วนท้ายของสมองส่วนหน้าแยกเป็น ธาลามัส (thalamus) และไฮโปธาลามัส (hypothalamus) ธาลามัสทำหน้าที่ถ่ายทอดสัญญาณความรู้สึกที่มาจากไขสันหลังและสมองเพื่อส่ง ไปยังส่วนหน้าสุดของซีรีบรัม ไฮโปธาลามัสอยู่ใต้ธาลามัสติดกับต่อมใต้สมอง (pituitary grand) ทำหน้าที่ควบคุมการนอนหลับ การกิน การกระหายน้ำ การหนีภัย การค่อสู้ การรักษาสมดุลของร่างกาย รวมทั้งการรักษาอุณหภูมิของร่างกาย และพฤติกรรมทางเพศ

สมองส่วนกลาง (Midbrain)
สัตว์ มีกระดูกสันหลังชั้นต่ำ สมองส่วนนี้เป็นศูนย์กลางของการมองเห็น สัตว์เลื้อยคลานกับนก ทำหน้าที่ถ่ายทอดสัญญาณการมองเห็นไปยังซีรีบรัม สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมเป็นเพียงสถานีถ่ายทอดสัญญาณระหว่างสมองส่วนท้ายและ สมองส่วนหน้า และระหว่างตากับสมองส่วนหน้า

สมองส่วนท้าย (Hindbrain)
ประกอบ ด้วยซีรีบรัม (cerebellum) เมดุลลาออบลองกาตา (medulla oblongata) และ พอนส์ (pons) ซีรีบลัมมีหน้าที่หลักในการควบคุมการทรงตัว ควบคุมและประสานงานการเคลื่อนไหว พอนส์ควบคุมการเคี้ยวและกลืน เมดุลลาออบลองกาตาทำหน้าที่ควบคุมการทำงานของระบบประสาทอัตโนมัติ เช่น ควบคุมการหายใจ การเต้นของหัวใจ เป็นต้น


บทความของเพื่อน

 1.การสอนเรื่องปรากฎการณ์ธรรมมีความสำคัญอย่างไร
 2.วิทยาศาสตร์กับเด็กปฐมวัย
ทักษะที่ได้รับ

- การเรียงลำดับ
- การจำแนก
- การสังเกต
สาระที่เด็กควรเรียนร
- เรื่องราวเกี่ยวกับคนและสถานที่และสิ่งแวดล้อม- ธรรมชาติรอบตัว- สิ่งต่างๆรอบตัวเรา


ความลับของแสง < The Secret of Light >

   แสงมีความสำคัญกับตัวเรามากเพราะแสงช่วยให้เรามองเห็นสิ่งต่างๆ ซึ่งจะเป็นคลื่นชนิดหนึ่งที่สั้นและยาว แสงยังเคลื่อนที่ได้เร็วถึง 300,000 กิโลเมตรต่อวินาที ถ้าวิ่งได้เร็วเท่าแสงจะวิ่งได้ 7 รอบต่อวินาทีแสงยังช่วยในการมองเห็นของรอบตัวเราได้เพราะแสงส่องสว่างลง มากระทบวัตถุหนึ่งต่อวัตถุหนึ่งทำให้เรามองเห็นสิ่งของได้
 การเคลื่อนที่ 300,000 กิโลเมตรต่อวินาที วิ่งรอบโลก 7 รอบต่อวินาที
ประเภทของวัตถุ
- วัตถุโปร่งแสง
- วัตถุโปร่งใส
- วัตถุทึบแสง
คุณสมบัติ
- การหักเหของแสง
- การเดินทางของแสงเป็นเส้นตรง
- การสะท้อนของแสง
ประโยชน์
 - กล้องส่องทางไกล , ทำกล้องฉาพภาพ
 -  ทำให้มองเห็นสิ่งรอ