วันอาทิตย์ที่ 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558

สรุปวิจัย
EAED3207 Scince Experinces Management for Eariy Childhood
วิชา การจัดประสบการณ์ทางวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ผู้สอน
อาจารย์ จินตนา สุขสำราญ
เวลาเรียน 08.30 : 12.20 (วันอังคาร เช้า ) กลุ่มเรียน 103
คณะศึกษาศาสตร์ โปรแกรมวิชาการศึกษาปฐมวัย
ชื่อ : นางสาวศิรดา สักบุตร (Sirada Sakbud) รหัสประจำตัว 5511200684



               การวิจัยครั้งนี้เป็นการสิจัยเชิงทดลอง  มีจุดมุ่งหมายเพื่อความสามารถในการคิดของเด็กปฐมวัยในการจัดกิจกรรมกระบวนการวิทยาศาสตร์นอกห้องเรียน  เพื่ออเป็นแนวทางในการใช้วิธีการสอนให้ครูและผู้เกี่ยวข้องกับพัฒนาเด็กปฐมวัยได้ร่วมส่งเสริมพัฒนาศักยภาพเด็กปฐมวัยได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม ผลการศึกษาระดับความสามารถของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกระบวนการทางวิทยาศาสตร์นอกห้องเรียนของระดับความสามารถในการวิเคาระห์สูงขึ้งอย่างมีนัยสำคัญ  ผลความเปรียบเทียบความสามารถในการวิเคราะห์ของเด็กหลังจากได้จักกิจกรรมกระบวนการทางวิทยาศาสตร์นอกห้องเรียน
ความเข้าใจในเรื่องที่ จะสามารถ  วิเคราะห์  จำแนกและแจกแจงได้ว่า  เรื่องที่เกี่ยวข้องกับอะไรมีองค์ประกอบอะไร  มีองค์ประกอบย่อยๆอะไรบ้าง  มีกี่หมวดหมู่  จัดลำดับความสำคัญได้อย่างไร  บอกเหตุผลและอะไรก่อให้เกิดเหตุผลทางการวิเคราะห์เรื่องนั้นสมเหตุสมผล  ความสามารถทักษะในการวิเคาระห์ในการหาความสัมพันธ์ก่อนได้รับกิจกรรมกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ความสามารถในการวิเคาระห์  ส่งเสริมให้เด็กรู้จักการวิเคาระห์การเปรียบเทียบการเชื่อมโยงหาความสัมพันธ์ในเรื่องต่างๆ  ได้ เช่น  แสงได้มาจากไหน ผ้าที่เปียกตากไว้กลางแสงแดดทำไมถึงแห้งเร็ว  รอบๆตัวเรามีอากาศหรือไม่เด็กๆได้ทำการทดลองค้นคว้าหาความจริง  ผลของต้นกล้วยนำมาทำอาหาร  หวาน  คาว  ขนม  ใบของต้นกล้วยนำมาทำภาชนะใส่ของห่อของ  ก้านกล้วยนำมาทำของเล่นได้  สรุปได้ว่า  การจัดกระบวนการทางวิทยาศาสตร์นอกห้องเรียนสามารถส่งเสริมความรู้ในการวิเคาระห์ของเด็กปฐมวัย  กระตุ้นให้เด็กได้เกิดการทดลองและลงมือปฏิบัติทำ  โดยมีปฏิสัมพันธ์กับสื่อธรรมชาติรอบๆ  ตัวเด็ก  โดยครูมีบทบาทในการเตรียมความพร้อมเด็ก  กระตุ้นการสังเกต   การตอบคำถาม  การทำานกลุ่ม  การแสดงความเห็นรวมถึงอุปกรณ์  และสภาพแวดล้อมท่ี่เหมาะสมกับการเรียนรู้ไปพร้อมๆ กับตัวและการฝึกให้เด็กหัดคิดในการจับประเด็นการวิเคราะห์ข้อมูลที่ได้รับการใช้เหตุผล  และความสัมพันธ์ของการหาองค์ประกอบต่างๆ
สรุปโทรทัศน์ครู
EAED3207 Scince Experinces Management for Eariy Childhood
วิชา การจัดประสบการณ์ทางวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ผู้สอน
อาจารย์ จินตนา สุขสำราญ
เวลาเรียน 08.30 : 12.20 (วันอังคาร เช้า ) กลุ่มเรียน 103
คณะศึกษาศาสตร์ โปรแกรมวิชาการศึกษาปฐมวัย
ชื่อ : นางสาวศิรดา สักบุตร (Sirada Sakbud) รหัสประจำตัว 5511200684

โทรทัศน์ครู  เรื่อง  ก้อนเมฆ พระจันทร์  และพระอาทิตย์


                 พระอาทิตย์  พระจันทร์  และก้อนเมฆ  เป็นเพื่อนรักกันทั้งสามต่างทำหน้าที่ของตนเองอย่างเต็มที่  อยู่มาวันนหนึ่งพระอาทิตย์เริ่มเบื่อหน้าที่ของตนเองที่ทำอยู่ทุกวันๆ พร้อมกับบ่นว่า พวกเจ้าสองคนทำหน้าที่น้อยเหลือเกินไม่เหมือนกันเรา ต้องค่อยให้พลังงานคนในตอนกลางวันอยู่ตลอดเวลา  แต่เจ้าก้อนเมฆจะทำอะไรนอกจากทำหน้าที่ให้ฝนตกอยู่ตลอดเวลา  ส่วนเจ้าดวงจันทร์  หนน้าที่เจ้าก็แสนจะน้อยนิดเพียงแค่คอยให้พลังงานแก่คนที่นอนหลับในตอนกลางคืน   แต่ข้าพระอาทิตย์ หน้าที่ช่างมากมายเหลือเกินทันใดที่เจ้าพระอาทิตย์พร่ำเพร่อเสร็จก็ออกไปหาเล่นบนโลกอื่นอย่างเพลิดเพลิน ปล่อยให้เจ้าดวงจันทร์  กับก้อนเมฆทำหน้าที่  ทันใดที่เจ้าพระอาทิตย์ต่างสนุกอยู่นั้นผู้คนบนโลกมากมายก็ต่างเดือนร้อน  น้ำท่วน ฝนไม่ตกตามฤดูกาล เกิดอัคคีภัย  จนมนุษย์บนโลกเดือดร้อน  ทันใดนั้นเจ้าพระอาทิตยก็มองไปยังโลกมนุษย์และเห็นว่าเจ้าดวงจันทร์  กับก้อนเมฆกำลังทำงานกันอย่างหนักทันใดนั้นเจ้าพระอาทิตย์จึงได้กลับลงไปช่วยทำหน้าที่ของตนเอง  ตั้งแต่นั้นมาทั้งสามจึงช่วยกันทำหน้าที่โลกมนุษย์  ตั้งแต่นั้นมาโลกมนุษย์ก็อยู่กันอย่างมีความสุข




วันเสาร์ที่ 10 มกราคม พ.ศ. 2558

สรุปบทความ
EAED3207 Scince Experinces Management for Eariy Childhood
วิชา การจัดประสบการณ์ทางวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ผู้สอน
อาจารย์ จินตนา สุขสำราญ
เวลาเรียน 08.30 : 12.20 (วันอังคาร เช้า ) กลุ่มเรียน 103
คณะศึกษาศาสตร์ โปรแกรมวิชาการศึกษาปฐมวัย
ชื่อ : นางสาวศิรดา สักบุตร (Sirada Sakbud) รหัสประจำตัว 5511200684

สรุป  บทความ  เรื่อง ภารกิจตามหาใบไม้

สถาบันส่งเสริมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี  ได้เริ่มโครงการบูรณาการวิทยาศาสตร์คณิตสาสตร์  และเทคโนโลยีเด็กปฐมวัยมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2549 เพื่อร่วมเป็นกำลังสนับสนุนโครงการพัฒนาเด็กและเยาวชนในถิ่นทุรกันดาร ตามแนวพระราชดำริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ภายใต้แนวทางการจัดอบรมครูผู้สอนวิทยาศาสตร์ให้มีทักษะการจัดกิจกรรม บูรณาการสหวิชา ตลอดจนสนับสนุนสื่ออุปกรณ์การศึกษาต่างๆ เพื่อต่อยอดการเรียนรู้ของเด็ก ผ่านกระบวนการสืบเสาะ 4 ขั้นตอน ได้แก่ การตั้งคำถาม การสำรวจตรวจสอบ การตอบคำถาม และนำเสนอผลการสำรวจตรวจสอบได้ด้วยตัวเอง   “วิทยาศาสตร์ คือ กระบวนการแสวงหาคำตอบและสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง ซึ่งครูสามารถใช้สิ่งแวดล้อมรอบตัว มาสร้างกิจกรรมการเรียนการสอนโดยไม่ต้องมีห้องทดลองหรืออุปกรณ์ไฮเทคใดๆ ขอเพียงให้เด็กได้ฝึกฝนกระบวนการคิดวิเคราะห์ การสังเกต จำแนก เปรียบเทียบ และสรุปความรู้ แรกดำเนินการประสบกับปัญหาหลายด้าน ตั้งแต่ปัญหาการสื่อสารทางภาษาเนื่องจากเด็กเกือบทั้งหมดเป็นเด็กชนเผ่า ผู้ปกครองก็เป็นชนเผ่า ปัญหาครูผู้สอนที่ไม่ได้จบด้านปฐมวัยมาโดยตรง จึงไม่มีพื้นฐานจัดกิจกรรม หรือความรู้จิตวิทยาเด็ก เกิดความสับสนเมื่อต้องรับผิดชอบทั้งกิจกรรมการเรียนการสอน 6 กิจกรรมหลัก ได้แก่ กิจกรรมการเคลื่อนไหว กิจกรรมเสริมประสบการณ์ กิจกรรมเสรี กิจกรรมกลางแจ้ง กิจกรรมเกมส์การศึกษา และกิจกรรมเสริมจาก สสวทเมื่อได้รับการอบรมก็เข้าใจว่า เป็นแผนการจัดประสบการณ์แบบบูรณาการเสริมเข้าไปใน 6 กิจกรรมหลักที่มีอยู่แล้ว ส่งผลให้ครูมีองค์ความรู้ในการจัดรูปแบบการเรียนการสอนได้ชัดเจนยิ่งขึ้น สามารถต่อยอดกิจกรรมตามสภาพแวดล้อมและภูมิปัญญาในท้องถิ่นของตนสามารถพัฒนาการเกิดขึ้นกับเด็กๆ อย่างชัดเจนถึง 4 ด้านภายหลังนำโครงการนี้เข้ามา คือ ด้านร่างกาย เด็กมีการเคลื่อนไหว ตื่นตัวต่อการเรียนรู้ตลอดเวลา ด้านสังคม เด็กมีการทำงานร่วมกัน มีพัฒนาการทางสังคมในการอยู่ร่วมกัน รู้จักเคารพกฎ-กติกา ด้านครอบครัว มีการพูดคุย และเรียนรู้ร่วมกันระหว่างเด็กและผู้ปกครอง และด้านสติปัญญา เด็กค้นหาและค้นพบองค์ความรู้ด้วยตัวเอง แทนที่จะรอครูบอกเพียงอย่างเดียว
        ตามหาใบไม้...ที่บ้านแม่สลิดหลวงวิทยา
       กิจกรรมการเรียนรู้จากใบไม้ที่โรงเรียนบ้านสลิดหลวงวิทยา ตำบลแม่สอง อำเภอท่าสองยาง จังหวัดตาก ซึ่งเป็นโรงเรียนในโครงการพัฒนาเด็กและเยาวชนในถิ่นทุรกันดาร ตามแนวพระราชดำริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เป็นตัวอย่างหนึ่งของกิจกรรมบูรณาการที่ให้เด็กๆ ได้ฝึกการสังเกตและวาดภาพใบไม้ ต่อยอดสู่การเรียนรู้เรขาคณิตจากรูปทรงของใบไม้ ตลอดจนช่วยกันคิดค้นเทคโนโลยีในการพิมพ์ลายใบไม้ให้เป็นศิลปะบนผืนผ้าอย่าง ง่ายๆ  “เดิมเด็กไม่ได้ลงมือปฏิบัติก็ไม่ค่อยสนใจเรียน เสียสมาธิง่าย อีกอย่างเด็กอนุบาลที่นี่เป็นเด็กชาวเขา 100% ครูก็สื่อสารยากเพราะไม่เข้าใจภาษาถิ่น เด็กก็ไม่เข้าใจภาษาไทย ต้องมีครูภาษาถิ่นเข้ามาช่วย โชคดีที่มีเด็กบางคนรู้ทั้งสองภาษาก็จะช่วยเพื่อน บางทีก็ช่วยครูด้วยเหมือนกัน พอนำเอาวิธีการสอนของ สสวท.มาใช้ เราก็บูรณาการวิชาภาษาไทยเพิ่มเข้าไปอีกหนึ่งวิชา ทำให้เด็กๆ มีปฏิสัมพันธ์กับครูมากขึ้น กระตือรือร้น กล้าคิด กล้าแสดงออกมากกว่าเดิมที่ต้องรอให้ครูบอกเพียงอย่างเดียว  หลังจากนั้นเริ่มมีเสียงเรียกร้องจากเด็กปฐมวัยให้จัดการเรียนการสอนแบบ นี้ เมื่อเขาขึ้นสู่ระดับประถมและมัธยมศึกษา ซึ่งเราคงเริ่มที่ระดับประถมศึกษาก่อน ถ้าหาก สสวท. สามารถขยายกิจกรรมลักษณะนี้ไปจนถึงประถมศึกษา 3 เท่ากับเด็กจะมีเวลาฝึกฝนกระบวนการคิดวิเคราะห์ถึง 5 ปี ซึ่งน่าจะเป็นระยะเวลาที่เหมาะสมพอในการปลูกฝังเด็กให้เป็นคนมีจิตวิทยา ศาสตร์ ที่ติดตัวไปกระทั่งโตเป็นผู้ใหญ่ หรือเด็กบางคนอาจกลายเป็นนักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่ของประเทศก็เป็นได้

การนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน 

การนำแนวทางพระราชดำริ  ของพระเทพรัตนราชสุดา  สยามบรมราชกุมารี  มาใช้ในการบูรณาการกับการเรียนการสอนที่เราจะไปใช้สอนกับเด็กปฐมวัยได้


ขอบคุณแหล่งที่มา


 http://www.manager.co.th
บันทึกอนุทินครั้งที่ 16
EAED3207 Scince Experinces Management for Eariy Childhood
วิชา การจัดประสบการณ์ทางวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ผู้สอน
อาจารย์ จินตนา สุขสำราญ
วันที่ 2 เดือน ธันวาคม พ.ศ. 2557
เวลาเรียน 08.30 : 12.20 (วันอังคาร เช้า ) กลุ่มเรียน 103
คณะศึกษาศาสตร์ โปรแกรมวิชาการศึกษาปฐมวัย
ชื่อ : นางสาวศิรดา สักบุตร (Sirada Sakbud) รหัสประจำตัว 5511200684
 
กิจกรรมการทำแผ่นพับ


กิจกรรมการทำแผ่นพับ








การประเมิน

การประเมินอาจารย์
- มีการให้นักศึกษาได้เรียนรู้เอง  และคอยให้คำปรึกษา

การประเมินเพื่อน
-เพื่อนๆให้ความสนใจในการจัดทำกิจกรรม

การประเมินตนเอง
-มีความสนใจในการทำกิจกรรม
บันทึกอนุทินครั้งที่ 15
EAED3207 Scince Experinces Management for Eariy Childhood
วิชา การจัดประสบการณ์ทางวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ผู้สอน
อาจารย์ จินตนา สุขสำราญ
วันที่ 26 เดือน พฤศจิกายน พ.ศ. 2557
เวลาเรียน 08.30 : 12.20 (วันอังคาร เช้า ) กลุ่มเรียน 103
คณะศึกษาศาสตร์ โปรแกรมวิชาการศึกษาปฐมวัย
ชื่อ : นางสาวศิรดา สักบุตร (Sirada Sakbud) รหัสประจำตัว 5511200684

กิจกรรมการเรียนการสอน
-การนำเสนอโทรทัศน์ครูและวิจัย

1.โทรทัศน์ครู เรื่องไฟฟ้า  และพันธุ์พืช
2.โทรทัศน์ครู  การทดลอง  และการละลายของสาร
3.โทรทัศน์ครู  เรื่องเสียงมาจากไหน
4.งานวิจัย        ผลการจัดกิจกรรมเรื่องสีจากธรรมชาติที่มีต่อทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ของเด็ก  ปฐมวัย
5.งานวิจัย        กระบวนการส่งเสริมการแก้ปัญหาของเด็กปฐมวัยของเด็กปฐมวัยโดยใช้กิจกรรมวิทยาศาสตร์ตามแนวคิดสครัสสติวิสต์ของพรใจสารยศ

กิจกรรมการทำหวานเย็น

1.น้ำหวาน
2.น้ำอุ่น
3.เกลือ
4.น้ำแข็ง
5.หม้อ
6.ช้อนตวง
7.ถุงเล็ก
8.ยางวง

ขั้นตอนการทำ

นำส่วนผมสมทุกอย่างเข้าด้วยกัน  ในปริมาณที่เหมาะสม
นำส่วนผสมที่ได้ตวงใส่ถุงพลาสติก



หลังจากนั้นนำหนังยางมารัดปากถุง  แล้วเตรียมนำไปแช่แข็ง

กิจกรรมการจัดหมวนหมู่จากของเล่นวิทยาศาสตร์


สามารถแยกได้เป็น  4  หมวด  ได้แก่

-  หมวดอากาศ
-  หมวดแสง
-  หมวดน้ำ
-  หมวดเสียง







การประเมิน

การประเมินอาจารย์
-  อาจารย์คอยอธิบายจากที่นักศึกษาได้ศึกาาเพิ่มเติมเพื่อให้นักศึกษาได้เข้าใจเพิ่มมากขึ้น


การประเมินเพื่อน

-เพื่อนๆ  ให้ความสนใจในการจัดทำกิจกรรม  และสนุกสานเพลิดเพลิน  และยังได้หวานเย็นไปกินกันคนละ  1   ถุง

การประเมินตนเอง
-ให้ความสนุกสนานเพลิดเพลินกับการทำกิจกรรมในวันนี้  และได้รับประสบการณืใหม่ๆ ซึ่งเราสามารถนำไปใช้ได้จริง
 

บันทึกอนุทินครั้งที่ 14
EAED3207 Scince Experinces Management for Eariy Childhood
วิชา การจัดประสบการณ์ทางวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ผู้สอน
อาจารย์ จินตนา สุขสำราญ
วันที่ 19 เดือน พฤศจิกายน พ.ศ. 2557
เวลาเรียน 08.30 : 12.20 (วันอังคาร เช้า ) กลุ่มเรียน 103
คณะศึกษาศาสตร์ โปรแกรมวิชาการศึกษาปฐมวัย
ชื่อ : นางสาวศิรดา สักบุตร (Sirada Sakbud) รหัสประจำตัว 5511200684


กิจกรรมการเรียนการสอนในวันนี้
  -  เพื่อนๆสรุปการทำวิจัย


กิจกรรมการทำวัฟเฟิล




วัสดุ/อุปกรณ์
 
 1.แป้งวัลเฟิล
   2.เนยจืด
   3.เนยเค็ม
   4.นม
   5.ไข่
   6.น้ำต้มสุก
   7.เครื่องทำวัลเฟิล
   8.ถ้วยตวง
   9.ที่ตีแป้ง
   10.ถ้วยใบเล็ก


ขั้นตอนการทำ
  
   -  ตีแป้งกับนมให้เข้ากัน  หลังจากนั้นใส่ไข่ที่เตรียมไว้ลงไปตีด้วย
   -  ผสมน้ำเล็กน้อยพอปนะมาณ  ไม่ให้เหลวเกิน
   -  ใส่เนยจืดที่ตัดเตรียมไว้  ลงไปในปริมาณที่เหมาะสม
   -  เมื่อผสมทุกอย่างเข้าด้วยกันดีแล้ว  ตักใส่ถ้วยเล็กที่เตรียมไว้
   -  นำเนยเค็มมาทาลงบนเตาวาฟเฟิล
   -  เมื่อเครื่องร้อนเทแป้งวาฟเฟิลที่ผสมเสร็จแล้วลงไป
   -  ทิ้งไว้  3-4  นาที  เป็นอันเรียบร้อย
 
รูปกิจกรรมการเรียนการสอนในวันนี้
 
  นักศึกษาได้มีการได้ลงมือปฏิบัติจริง  และได้มีรส่วนร่วมในการทำกิจกรรม  ทุกคนทำวัลเฟิลกันอย่างสนุกสนาน
 
 
การประเมิน
 
การประเมินอาจารย์
อาจารย์มีการเตรียมอุปกรณืการเรียนการสอนมาใช้ในการทำกิจกรรมในครั้งนี้ 
 
การประเมินเพื่อน
-เพื่อนๆ  ทุกคนให้ความสนใจในการร่วมกิจกรรมการเรียนสอน  สนุกกับการทำขนมวัลเฟิล
 
การประเมินตนเอง
-  ให้ความสนใจนการทำขนมวัลเฟิล 
 
 
 
 
  

บันทึกอนุทินครั้งที่ 13
EAED3207 Scince Experinces Management for Eariy Childhood
วิชา การจัดประสบการณ์ทางวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ผู้สอน
อาจารย์ จินตนา สุขสำราญ
วันที่ 11 เดือน พฤศจิกายน พ.ศ. 2557
เวลาเรียน 08.30 : 12.20 (วันอังคาร เช้า ) กลุ่มเรียน 103
คณะศึกษาศาสตร์ โปรแกรมวิชาการศึกษาปฐมวัย
ชื่อ : นางสาวศิรดา สักบุตร (Sirada Sakbud) รหัสประจำตัว 5511200684


กิจกรรมนำเสนอแผนการเรียนการสอนในแต่ละกลุ่ม

- หน่วยสัปปะรด
- หน่วยส้ม
- หน่วยทุเรียน
- หน่วยมด
- หน่วยดิน
- หน่วยน้ำ



***กิจกรรมทำไข่หรรษา
  
 อุปกรณ์
   1.ไข่  (Egg)
   2.ข้าว  (Rice)
   3.แครอท 
   4.ต้นหอม
   5.ปูอัด
   6.ซอส  (Sauce)
   7.น้ำมันพืช (Oil)
   8.เตาทาโกยากิ
   9.ช้อน
   10.ถ้วย
   11.มีด
   12.เขียง
   13.กรรไกร  (Clippers)
   14.กระดาษ
   15.ผ้า  (Cloth)

  ขั้นตอนการทำ
    -  ตัดกระดาษพอดีกับตูดถ้วย
    -  หั่นผักที่เตรียมไว้  ( แครอทเป็นชิ้นลูกเต๋า ต้นหอม  ปูอัด ) 
   -  ตอกใข่  1  ฟอง
   -  ใส่ผักและปูอัด  ปรุงรสชาติตามมใจชอบ
   -  ทาน้ำมัน  ทาเนย เทลงเตาทาโกยากิ  
โดยแต่ละขั้นตอนจะอยู่เป็นโต๊ะๆ  ให้นักศึกษาแบ่งเป็นกลุ่มตามโต๊ะ  และวนจนครบทุกโต๊ะ

สรุปกิจกรรมที่ได้จากวันนนี้


การประเมิน

การประเมินอาจารย์
-  อาจารย์ผู้สอนมีการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่ทำให้นักศึกษาได้มีส่วนร่วนรวมในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนในวันนี้


การประเมินเพื่อน
-  เพื่อนๆมีส่วนร่วมในการจัดทำกิจกรรมในครั้งนี้เป็นอย่างดี


การประเมินตนเอง
-  ให้ความสนใจกับการทำกิจกรรมในวันนี้