วันอาทิตย์ที่ 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558

สรุปวิจัย
EAED3207 Scince Experinces Management for Eariy Childhood
วิชา การจัดประสบการณ์ทางวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ผู้สอน
อาจารย์ จินตนา สุขสำราญ
เวลาเรียน 08.30 : 12.20 (วันอังคาร เช้า ) กลุ่มเรียน 103
คณะศึกษาศาสตร์ โปรแกรมวิชาการศึกษาปฐมวัย
ชื่อ : นางสาวศิรดา สักบุตร (Sirada Sakbud) รหัสประจำตัว 5511200684



               การวิจัยครั้งนี้เป็นการสิจัยเชิงทดลอง  มีจุดมุ่งหมายเพื่อความสามารถในการคิดของเด็กปฐมวัยในการจัดกิจกรรมกระบวนการวิทยาศาสตร์นอกห้องเรียน  เพื่ออเป็นแนวทางในการใช้วิธีการสอนให้ครูและผู้เกี่ยวข้องกับพัฒนาเด็กปฐมวัยได้ร่วมส่งเสริมพัฒนาศักยภาพเด็กปฐมวัยได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม ผลการศึกษาระดับความสามารถของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกระบวนการทางวิทยาศาสตร์นอกห้องเรียนของระดับความสามารถในการวิเคาระห์สูงขึ้งอย่างมีนัยสำคัญ  ผลความเปรียบเทียบความสามารถในการวิเคราะห์ของเด็กหลังจากได้จักกิจกรรมกระบวนการทางวิทยาศาสตร์นอกห้องเรียน
ความเข้าใจในเรื่องที่ จะสามารถ  วิเคราะห์  จำแนกและแจกแจงได้ว่า  เรื่องที่เกี่ยวข้องกับอะไรมีองค์ประกอบอะไร  มีองค์ประกอบย่อยๆอะไรบ้าง  มีกี่หมวดหมู่  จัดลำดับความสำคัญได้อย่างไร  บอกเหตุผลและอะไรก่อให้เกิดเหตุผลทางการวิเคราะห์เรื่องนั้นสมเหตุสมผล  ความสามารถทักษะในการวิเคาระห์ในการหาความสัมพันธ์ก่อนได้รับกิจกรรมกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ความสามารถในการวิเคาระห์  ส่งเสริมให้เด็กรู้จักการวิเคาระห์การเปรียบเทียบการเชื่อมโยงหาความสัมพันธ์ในเรื่องต่างๆ  ได้ เช่น  แสงได้มาจากไหน ผ้าที่เปียกตากไว้กลางแสงแดดทำไมถึงแห้งเร็ว  รอบๆตัวเรามีอากาศหรือไม่เด็กๆได้ทำการทดลองค้นคว้าหาความจริง  ผลของต้นกล้วยนำมาทำอาหาร  หวาน  คาว  ขนม  ใบของต้นกล้วยนำมาทำภาชนะใส่ของห่อของ  ก้านกล้วยนำมาทำของเล่นได้  สรุปได้ว่า  การจัดกระบวนการทางวิทยาศาสตร์นอกห้องเรียนสามารถส่งเสริมความรู้ในการวิเคาระห์ของเด็กปฐมวัย  กระตุ้นให้เด็กได้เกิดการทดลองและลงมือปฏิบัติทำ  โดยมีปฏิสัมพันธ์กับสื่อธรรมชาติรอบๆ  ตัวเด็ก  โดยครูมีบทบาทในการเตรียมความพร้อมเด็ก  กระตุ้นการสังเกต   การตอบคำถาม  การทำานกลุ่ม  การแสดงความเห็นรวมถึงอุปกรณ์  และสภาพแวดล้อมท่ี่เหมาะสมกับการเรียนรู้ไปพร้อมๆ กับตัวและการฝึกให้เด็กหัดคิดในการจับประเด็นการวิเคราะห์ข้อมูลที่ได้รับการใช้เหตุผล  และความสัมพันธ์ของการหาองค์ประกอบต่างๆ

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น