วันเสาร์ที่ 27 กันยายน พ.ศ. 2557

บันทึกอนุทินครั้งที่ 4
EAED3207 Scince Experinces Management for Eariy Childhood
วิชา การจัดประสบการณ์ทางวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ผู้สอน
อาจารย์ จินตนา สุขสำราญ
วันที่ 9 เดือน กันยายน พ.ศ. 2557
เวลาเรียน 08.30 : 12.20 (วันอังคาร เช้า ) กลุ่มเรียน 103
คณะศึกษาศาสตร์ โปรแกรมวิชาการศึกษาปฐมวัย
ชื่อ : นางสาวศิรดา สักบุตร (Sirada Sakbud) รหัสประจำตัว 5511200684


กิจกรรม (Employment) การนำเสนอ (Show )บทความ (Article) "วิทยาศาสตร์" (Science)


บทความ (Article)
  - บทความที่ 1 เรื่อง จุดประกายเด็กคิดนอกกรอบ "สนุกคิดกับของเล่นวิทยาศาสตร์"
    ของเล่นนั้นอยู่คู่กับเด็กทุกคน  ทั้งของเล่น (plaything)พื้นบ้านที่เกิดจากภูมิปัญญา(intellect) ไทยที่สืบทอดมาตั้งแต่สมัยโบราณ(immemorial)และของเล่นวิทยาศาสตร์ ที่กระตุ้นความสนใจในวิทยาศาสตร์ของเด็กใช้หลักการมาอธิบายได้ โดยการนำเอากระบวนการวิทยาศาสตร์พื้นฐาน  กิจกรรมสนุกคิดกับของเล่นวิทยาศาสตร์ เด็กๆจะได้ความสนุกสนาน และประสบการณ์ใหม่ๆการแสดงออก  และความคิดริเริ่มสร้างสรรค์นอกกรอบ  ในส่วนของวัสดุอุปกรณ์การเรียนการสอนนั้นหาได้ไม่ยากซึ่งสามารถหาได้จากวัสดุในท้องถิ่นวัสดุอุปกรณ์เหือใช้ในท้องถิ่น  เช่น ขวนน้ำพลาสติก  หลอดกาแฟ  แก้วกระดาษ  เพียงแค่ใช้กรรไกร ไม้บรรทัด  คัตเตอร์   กาว สกอตเทป ผสมกับกระบวนการจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์ในเชิงเทคโนโลยีระดับประถมเข้าไปก็ออกมาเป็นของเล่นสนุกสนานต่างๆ  และสามารถอธิบายด้วยวิทยาศาสตร์ได้มากมาย การเรียนรู้วิทยาศาสตร์ให้กับผู้เรียนนั้น  ครูสามารถจัดได้ทั้งในห้องเรีน นอกห้องเรียน  และในสถานการณ์(situation)ต่างๆ  ครูจะทำอย่างไรให้เด็กสนุกกับการเรียนรู้ ทำให้นักเรียนสามารถเชื่อมโยงกับความรู้ในชีวิตประจำวัน  สนใจโลกแห่งวิทยาศาสตร์ มีความอยากรู้อยากเห็นและต้องการศึกษาหาคำตอบนั้นๆ
    
  -  บทความที่ 2  เรื่อง ทำอย่างไรให้ลูกสนใจในวิยาศาสตร์
     วิทยาศาสตร์เป็นวิชาที่เด็กหลายคนปวดหัวและเบื่อ  แม้จะเป็นวิชาที่มีประโยชน์ก็ตาม ทำอย่างไรให้ลูกสนใจวิทยาศาสตร์
1.อ่านหนังสือการ์ตูนวิทยาศาสตร์  หนังสือวิทยาศาสตร์อาจดูน่าเบื่อสำหรับเด็กปฐมวัยในปัจจุบันมีการนำหนังสือวิทยาศาสตร์มาปรับปรุงทำให้ไม่น่าเบื่ออีกต่อไปมีภาพแทรกสอดที่สวยงาม น่าสนใจมากขึ้น  และมีการแทรกสอดการทดลองที่น่าสนใจไว้ และบ้างเล่มมีภาพน่ารักบางเล่มเป็นนิยายผจญภัย
2.การทำการทดลองง่าย  การหาหหนังสือเกี่ยวกับการทดลองทางวิทยาศาสตร์มาเป็นแนวทางในการฝึกการทดลองแบบง่ายๆที่สามรถฝึกทำได้ทีบ้าน
3.พาเข้าพิพิธภัณฑ์(museum)วิทยาศาสตร์แบบ interactive เป็นพิพิธภัณฑ์เชิงปฏิสัมพันธ์  หรือการให้ผู้ชมมีส่วนร่วมในการมีปฏิสัมพันธ์ทดลองและปฏิบัติ โดยเฉพาะชิ้นงานแบบ interactive ที่เน้นการมีส่วนร่วมของผู้เข้าชม โดยเฉพาะเด็กๆให้มีส่วนร่วมในการมี
ปฏิสัมพันธ์ในการทดลอง ปฏิบัติ เรียนรู้ด้วยตัวเอง


  - บทความที่ 3 เรื่อง วิทย์ - คณิต สำคัญอย่างไรกับอนาคตของชาติ
    เป็นการรับรู้อย่างกว้างขวาง  การศึกษาปฐมวัย  คือ  การวางรากฐาน(foundation)การเรียนรู้เพื่อพัฒนาการเรียนรู้การคิดตลอดชีวิต  สสวท.  ได้มีการสร้างกรอบมาตราฐานและคู่มือกรอบมาตราฐานการเรียนรู้ทางคณิตศาสตร์  และวิทยาศาสตร์ ปฐมวัย  โดยนำเสนอตัวอย่างการบูรณาการณ์กิจกรรมการจัดประสบการณ์การเรียนรู้  และยังได้มีการจัดอบรมครู  และวิทยากรแกนนำ  เพื่อนำไปขยายผลทั้งนี้โรงเรียนทั่วประเทศจำนวนมากกว่าหนึ่งหมื่นแห่ง  และครูปฐมวัยเข้าร่วมอบรมแล้ว จำนวน  18,679 คน
 วิทย์ - คณิต สำคัญอย่างไรกับอนาคตของชาติ


  -  บทความที่  4 เรื่อง เมื่อลูกน้อยเรียนรู้วิทย์คณิตจากเสียงดนตรีบูรณาการวิทยาศาสตร์
      เมื่อลูกน้อยเรียนรู้คณิตวิทย์จากเสียงดนตรี(musical sound) บูรณาการกิจกรรมเพื่อสร้างนักวิทยาศาสตร์น้อยเมื่อส่งลูกเข้าเรียนอนุบาล พ่อ-แม่ คาดหวังอะไร ?.พ่อ-แม่หลายคนอาจต้องถามตัวเองใหม่ ปัจจุบันการเรียนรู้ระดับปฐมวัยสิ่งที่สำคัญคือ การสร้าง “เจตคติที่ดี” ในการเรียนรู้ของเด็กโดยผ่านกระบวนการจัดการเรียนรู้และกิจกรรมต่างๆ “โรงเรียนเริ่มนำวิธีการบูรณาการมาใช้ประมาณ 2-3  ปีการศึกษาแล้ว โดยใช้กิจกรรมเป็นตัวเชื่อมโยงวิชาต่างๆทั้งวิทย์ คณิต ภาษาไทย อังกฤษ  รวมทั้งอิสลามศึกษาด้วย”คุณครูภทพร  สุคนธพันธ์  จากสถานพัฒนาและเลี้ยงดูเด็กอ้อมอุ่น จังหวัด
ปทุมธานี เห็นว่า การเรียนการสอนในรูปแบบกิจกรรมบูรณาการนั้นสำหรับเด็กเล็กๆ สามารถนำไปใช้ได้ เพียงแต่ไปปรับให้เหมาะสมกับวัย และการเรียนรู้ในรูปแบบนี้จะติดตัวเด็กไปจนโต ฝังรากลึก การเรียนรู้ที่ทำให้เด็กมีความสุขเป็นเรื่องสำคัญ ซึ่งก็คือ เจนตคติ ดังนั้นต้องมีการสร้างกระบวนการขึ้น ครูจะต้องมีความตระหนักตรงนี้
 เมื่อลูกน้อยเรียนรู้วิทย์คณิตจากเสียงดนตรีบูรณาการวิทยาศาสตร์


  -  บทความที่  5 เรื่อง  การจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
       สถาบันส่งเสริมการสอน วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) เล็งเห็นความสำคัญของการพัฒนาการจัดประสบการณ์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์ใน ระดับปฐมวัย จึงได้จัดทำแนวทางการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ปฐมวัยตามหลักสูตรการศึกษา ปฐมวัย 2546 ขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้ครูปฐมวัยมีแนวทางที่ ชัดเจนในการจัดประสบการณ์การ เรียนรู้วิทยาศาสตร์ที่ช่วยพัฒนาคุณลักษณะตามวัยของเด็กปฐมวัย ทั้งด้านร่างกาย ด้านอารมณ์และจิตใจ ด้านสังคม และด้านสติปัญญาตลอดจนพัฒนากระบวนการคิด กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ จิตวิทยาศาสตร์และแนวคิดเกี่ยวกับตนเองธรรมชาติและสิ่งต่างๆรอบตัวที่สำคัญ รวมถึงการเตรียมความพร้อมสำหรับการเรียนในระดับประถมศึกษา โดยเป็นไปตามหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2546 และสอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้การศึกษาขั้นพื้นฐาน กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2544  แนวทางการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ปฐมวัยตามหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย 2546 เป็นชุดเอกสารที่ประกอบไปด้วย 3 ส่วน ได้แก่ ส่วนที่ 1 กรอบมาตรฐานการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ปฐมวัย ส่วนที่ 2 สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ปฐมวัย และส่วนที่ 3 การออกแบบกิจกรรมบูรณาการวิทยาศาสตร์ปฐมวัย


การจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย

การนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน   -  เราสามารถนำบทความที่เรารับฟังไปใช้บูรณาการกับการเรียนการสอนในรายวิชาวิทยาศาสตร์ได้

การประเมิน
 การประเมินตนเอง
    - มีการจดบันทึกงานตามที่อาจารย์สอน มีไม่ตั้งใจฟังในบ้างครั้ง ความเข้าใจในเนื้อหามีเข้าใจบ้างไม่เข้าใจบ้าง มีการร่วมตอบคำถามในกิจกรรมที่อาจารย์ สอนในชั้นเรียน

การประเมินเพื่อนๆ 
   - เพื่อนๆมีการร่วมการตอบคำถามกิจกรรมที่อาจารย์ถามในห้องเรียนแต่เพื่อนบ้างคนก็ไม่มีส่วนร่วมในการทำกิจกรรม การออกไปนำเสนอบทความเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ และมีการถามตอบเพื่อนเพื่อสรุป บทเรียนและทดสอบความเจ้าใจของเพื่อนในชั้นเรียน

การประเมินอาจารย์ผู้สอน
   -  อาจารย์มีการให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการเรียนการสอนในรายวิชา โดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ให้ผู้เรียนมีบทบาทในการที่จะกล้าที่จะแสดงออก การที่จะนำเสนองานหน้าชั้นเรียน และให้อาจารย์คอยเสนอชี้แนะแนว ทางเพิ่มเติม

คำศัพท์ที่ได้จากการเรียนในวันนี้

  - ของเล่น (plaything)
  - ภูมิปัญญา(intellect)
  - โบราณ(immemorial)
  - สถานการณ์(situation)
  - พิพิธภัณฑ์(museum)
  - วางรากฐาน(foundation)
   - เสียงดนตรี(musical sound)

วันศุกร์ที่ 19 กันยายน พ.ศ. 2557

บันทึกอนุทินครั้งที่ 3
EAED3207 Scince Experinces Management for Eariy Childhood
วิชา การจัดประสบการณ์ทางวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ผู้สอน
อาจารย์ จินตนา สุขสำราญ
วันที่ 2 เดือน กันยายน พ.ศ. 2557
เวลาเรียน 08.30 : 12.20 (วันอังคาร เช้า ) กลุ่มเรียน 103
คณะศึกษาศาสตร์ โปรแกรมวิชาการศึกษาปฐมวัย
ชื่อ : นางสาวศิรดา สักบุตร (Sirada Sakbud) รหัสประจำตัว 5511200684

กิจกรรม (Employment) การนำเสนอ (Show )บทความ (Article) "วิทยาศาสตร์" (Science)


บทความ (Article)
 - บทความที่ 1 เรื่อง วิทยาศาสตร์กับการทดลอง (Demonstration)
 - บทความที่ 2 เรื่อง ภารกิจ(Mission)ตามหาใบไม้ (Foliage)
 - บทความที่ 3 เรื่อง แม่เล็กของเด็กชายหอบ กับการสร้างวิทยาศาสตร์บูรณาการณ์(Fortunetelling)
 - บทความที่ 4 เรื่อง การแยกเมล็ดสี
 - บทความที่ 5 เรื่อง เจ้าลูกโป่ง(Bubble)

 กิจกรร ตาหาใบไม้

                     สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) ได้จัดทำโครงการบูนการวิชาวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และเทคโนโลยีปฐมวัย ส่งเสริมให้เด็กในถินธุระกันดาร โดยการจัดอบรมครูผู้สอนวิทยาศาสตร์ให้มีทักษะการจัดกิจกรรมบูรณาการ เพื่อต่อยอดการเรียนรู้ ผ่านกระบวนการสืบเสาะ 4 ขั้นตอน ได้แก่ การตั้งคำถาม การตรวสอบ
การตอบคำถาม และการนำเสนอ "วิทยาศาสตร์" (Science) คือ กระบวนการสืบเสาะ แสวงหาคำตอบ ครูสามารถใช้สิ่งแวดล้อมรอบๆตัว การจัดสภาพแวดล้อม มาจัดกิจกรรมในการเรียนการสอนโดยไม่ต้องมีห้องปฏิบัติ ห้องทดลองไฮเทค ฝึกให้เด็กได้มีกระบวนการคิดวิเคราะห์ การสังเกต การจำแนก เปรียบเทียบ และสรุปความรู้ เด็กก็จะสามารถแก้ไขฝึกการแก้ไขปัญหากับสิ่งที่จะเผชิญในอนาคตได้ โดยมีการจัดอบรมครูในโครงการ ปี ละ 1 ครั้ง ใช้เวลา 5 วัน ครูที่ผ่านการอบรม นำการอบรมที่ได้ไปต่อยอด พัฒนาการเรียนการสอนในพื้นที่ของตนเอง
  กิจกรรม ตามหาใบไม้ เป็นตัวอย่างหนึ่งของกิจกรรมบูรณาการให้เด็กได้ฝึกการสังเกต การวาดภาพใบไม้ ต่อยอดการเรียนรู้รูปทรงของใบไม้ ตลอดจนการช่วยส่งเสริมลายพิมพ์ เทคโนโลยีการพิมพ์ทางศิลปะ ลงบนผืนผ้า อย่างง่าย เดิมเด็กลงมือปฏิบัติไม่ค่อยเกิดความสนใจ เสียสมาธิง่าย และการสื่อสารและภาษาที่ยากจะสื่อสารกันได้เข้าใจ แต่พอนำวิธีการสอน ของ สสวท. มาใช้บูรณาการวิชาภาษาไทยเพิ่มเข้าไปอีกหนึ่งวิชา ทำให้เด็กมีปฏิสัมพันธ์กับครูมากขึ้น กล้าที่จะแสดงออก กระตือรือร้น กล้าคิด มากกว่าที่รอครูบอกเพียงอย่างเดียว






คุณลักษณะตามวัยพัฒนาการเด็ก 3 - 5 ปี หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พ.ศ. 2546




การนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน

 - การนำไปใช้ในการพัฒนาการของพฤติกรรมของเด็กให้ครบทั้ง 4 ด้าน ได้แก่ด้านร่างกาย 
ด้านอารมณ์ - จิตใจ ด้านสังคม และด้านสติปัญญา
 - การสอนให้เด็กได้ที่กล้าที่จะฝึกความกล้าแสดงออก กล้าที่จะแสดงความคิดเห็น
 - การได้ฝึกมีปฏิสัมพันธ์ร่วมกันระหว่างครูกับนักเรียน พ่อแม่และผู้ปกครอง

การประเมิน

การประเมินตนเอง
 - การได้ฝึกความกล้าแสดงออกหน้าขั้นเรียน ฝึกการมีปฏิสัมพันธ์ในเพื่อนร่วมห้อง

การประเมินเพื่อน
 - เพื่อนได้ฝึกความกล้าที่จะแสดงออก ฝึกการจับไมค์

การประเมินอาจารย์
 - อาจารย์มีบทบาทให้นักศึกษาเป็นการเรียนรู้ด้วยตนเองโดยอาจารย์ให้แนวทาง

คำศัพท์ที่ได้จากการเรียนในวันนี้
  กิจกรรม (Employment) 
  การนำเสนอ (Show )
  บทความ (Article) 
  วิทยาศาสตร์(Science) 
  ลูกโป่ง(Bubble) 
  บูรณาการณ์(Fortunetelling)
  ภารกิจ(Mission)
  ใบไม้ (Foliage)
  การทดลอง (Demonstration)
ที่มา และแหล่งเรียนรู้เพิ่มเติม 
ภารกิจตามหาใบไม้


บันทึกอนุทิน ครั้งที่ 2
EAED3207 Science Experinces Management for Early Childhood
วิชา การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ผู้สอน
อาจารย์ จินตนา  สุขสำราญ
วันที่ 26 เดือน สิงหาคม พ.ศ. 2557
เวลาเรียน 08.30 : 12.20 (วันอังคาร เช้า) กลุ่มเรียน 103 
คณะศึกษาศาสตร์ โปรแกรมการศึกษาปฐมวัย
ชื่อ : นางสาวศิรดา สักบุตร  (Sirada Sakbud)  รหัสประจำตัว : 5511200684  เลขที่ : 16


"เด็กปฐมวัย" เด็กตั้งแต่ที่มีการเกิดการปฏิสนธิ ถึง 6 ปี บริบูรณ์ เด็กวันนี้ควรได้รับการอบรมเลี้ยงดูในสภาพแวดล้อมที่เหมาะสม และผ่านประสาทสัมผัสทั้ง 5 ด้าน จะส่งผลต่อพัฒนาการ "พัฒนาการ" (Development) คือการเปลี่ยนแปลงการทำหน้าที่ (Funtion) และวุฒิภาวะ (Maturation) ของระบบต่างๆ ในตัวเรา จำแนกได้ 4 ด้าน ได้แก่
 ด้านร่างกาย ด้านอารมณ์ จิตใจ ด้านสังคม และด้านสติปัญญา



การทำกิจกรรมในห้องเรียน Mind Map สรุปแผนผังความคิดที่ได้จากการเรียนในวันนี้






Mind Map "เด็กปฐมวัย" 


"วิทยาศาสตร์"  (Science) มาจากภาษาลาติน คำว่า science หมายความว่า "ความรู้" สิ่งที่มนุษย์เรียนรู้ และเข้าใจจากสภาพแวดล้อมสิ่งรอบๆตัวเรา ทั้งสิ่งมีชีวิต และไม่มีชีวิต การเรียนรู้แบบนี้เป็นสิ่งที่ติดตัวเรามาตั้งแต่แรกเกิด ซึ่งมองได้จากธรรมชาติที่มีอยู่ในตัวเรา ในวัยเด็กเราจะมีความอยากรู้อยากเห็น ช่างสังเกต ช่างสงสัย 
เมื่อได้พบเจอประสบกรณ์ใหม่ๆ 


การนำไปใช้ในขีวิตประจำวัน 
 - การนำไปใช้ในเรียนการจัดสภาพแวดล้อมภายในห้องเรียน เพื่อให้เด็กได้เกิดประสบการณ์ใหม่ๆ
 - การปลูกฝังให้เด็กรักในวิชาวิทยาศาสตร์โดยมีการจัดการเรียนเพื่อให้มีเพื่อฐานในการเรียนรู้ เพิ่มขึ้น วิชาวิทยาศาสตร์ก็จะไม่เป็นวิชาที่น่าเบื่อสำหรับเด็กๆอีกต่อไป
- การสอนให้เด็กรักในวิชาวิทยาศาสตร์ 
- การฝึกการสังเกต สอนให้เด็กรู้จักการสังเกต การสำรวจ หาข้อมูล และนำสิ่งที่ได้มาใช้ในการเรียนรู้ได้
- การนำมาบูรณาการในรายวิชาต่างๆ เพื่อให้เด็กเกิดความสุขสนานเพลิดเพลิน และชื่นชอบในรายวิชาวิทยาศาสตร์เพิ่มมาขึ้น


การประเมิน
 
 -  การประเมินตนเอง ตั้งใจฟังอาจารย์ผู้สอนบรรยายกิจกรรมวิทยาศาสตร์ ในหน่วย เรื่องไข่ ว่าสามรถทำอะไรได้บ้าง ไข่มาจากไหน นำมาใช้ในการเรียนการสอนได้อย่างไร ตั้งใจฟังเพื่อนนำเสนอ และร่วมช่วยแสดงความคิดเห็น แต่วันนี้มาเรียนสาย อาทิตย์หน้าจะปรับปรุงคะ

 - ประเมินเพื่อน เพื่อนตั้งใจทำกิจกรรมที่อาจารย์นำมาใช้ในการเรียนการสอน ทำให้เพื่อนๆ ในห้องเกิดความสนใจ การเรียนในวันนี่จึงไม่น่าเบื่อ เพื่อนๆมีการจดบันทึกตามอาจารย์เป็นระยะๆ ร่วมกันตอบคำถามเวลาเพื่อนออกไปทำกิจกรรมหน้าชั้นเรียน


 - การประเมินอาจารย์ผู้สอน อาจารย์มีการนำกิจกรรมจากเปลือกไข่มาให้นักศึกษาได้มีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็น คำตอบที่นักศึกษาตอบจะไม่มีถูกไม่มีผิด ถือว่าฝึกกระบวนการความคิด ทำให้นักศึกษาเกิดความสนุกเพลิดเพลิน















วันจันทร์ที่ 15 กันยายน พ.ศ. 2557

บันทึกอนุทิน ครั้งที่ 1 
EAED3207 Scince Experinces Management for Early Childhood
วิชา การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ผู้สอน
อาจารย์ จินตนา  สุขสำราญ
วันที่ 19 เดือน สิงหาคม พ.ศ.2557
เวลาเรียน 08.30 : 12:20 (วันอังคาร เช้า ) กลุ่มเรียน 103
คณะศึกษาศาสตร์ โปรแกรมวิชาการศึกษาปฐมวัย
ชื่อ : นางสาวศิรดา สักบุตร (Sirada Sakbud) รหัสประจำตัว 5511200684 เลขที่ : 16


กิจกรรมในห้องเรียน 
 - ชี้แจงเรื่องแนวการเรียนการสอน สำหรับภาคเรียนที่ 1 ให้กับนักศึกษา
 - ชี้แจงกฏระเบียบในห้องเรียนร่วมกันการทำความเข้าใจในการปฏิบัติกฏระเบียบภายในห้องเรียนร่วมกันในชั้นเรียน
 - การใช้ คำถาม การ ตอบคำถาม ภายในชั้นเรียน เพื่อเป็นการฝึกการตอบคำถาม กระบวนการคิด วิเคาระห์
 - การทำผลงาน รายละเอียดในการทำ BLongger

การนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน
 - สามารถนำไปใช้ในการเป็นสื่อประกอบการเรียนการสอน
 - สามารถนำมาใช้ในการทำกิจกรรมต่างได้
 - สามารถรู้ถึงขั้นตอนการเรียนการสอน เพื่อเตรียมความพร้อมก่อนการเรียนการสอน
 - สามารถฝึกทักษะ และความรู้พื้นฐาน
 - สามารถนำไปใข้กับการเรียนบูรณาการณ์กับรายวิชาอื่นได้

การประเมิน

การประเมินตนเอง
 - มาเรียนตรงเวลา มานั่งรออาจารย์ก่อนเวลาเข้าห้องเรียน
 - เตรียมความพร้อมในการมาเรียน มีการจัดตารางเรียนไว้
 - แต่งกายด้วยชุดพละ
 - มีการจดบันทึก และการทำกิจกรรมในห้องเรียน

การประเมินเพื่อน
 - เพื่อนๆ มานั่งรอเวลาเรียนก่อนถึงเวลาเข้าเรียน
 - เพื่อนๆ มีการจดบันทึกตามอาจารย์ที่อาจารย์บรรยาย
 - เพื่อนๆ มีการขออนุญาตไปเข้าห้องน้ำเป็นระยะๆ
 - เพื่อนๆ มีการคุยกัยบ้าง
 - เพื่อนมีการแต่งกายที่ยังไม่เรียบร้อย ส่วนหนึ่งใส่เสื้อเอก อีกส่วนใส่ชุดนักศึกษา

การประเมินอาจารย์
 -อาจายร์ผู้สอนมีการเตรียมการเรียนการสอน มีสื่อประกอบการเรียนการสอน บรรยายการเรียนการสอนในคาบโดยใช้โปรแกรม PwerPoint 

แหล่งเรียนรู้เพิ่มเติม
 - มคอ. มาตราฐานการเรียนรู้ระดับอุดมศึกษา